ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Siamgalileo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
| notes =
}}
 
คณะกู้บ้านกู้เมืองนั้นเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เหนียวแน่นนักระหว่างทหารหัวเมืองซึ่งจงรักภักดีต่อพระองค์เจ้าบวรเดช พระยาสิทธิสงครามและพวก อีกทั้งพลเรือน (รวมทั้งหม่อมเจ้า ๒-๓ พระองค์) ซึ่งเป็นสมาชิกของคณะชาติซึ่งไม่ได้รับอนุญาตให้ตั้งคณะการเมืองมาก่อนหน้านี้ในสมัยรัฐบาลพระยามโนฯ ดังนั้น จึงคล้ายกับว่าเป็นแนวร่วมระหว่างกลุ่มซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงเรียกคำข้างต้นว่าเป็น “พวกนิยมกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ” กับ “พวกนิยมสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างถอนตัวไม่ขึ้น” คณะกู้บ้านกู้เมือง ตั้งความหวังไว้ด้วยว่าทหารบกบางส่วนในกรุงเทพฯ ซึ่งภักดีต่อพระยาทรงสุรเดชจะให้การสนับสนุน หากแต่ว่าทหารบกส่วนนี้ได้วางเฉยและเป็นทีว่าได้ปล่อยข่าวแผนการของคณะกู้บ้านกู้เมืองให้หลวงพิบูลสงครามทราบ[4] นับเป็นปัจจัยที่ทำให้ฝ่าย “กบฏ” มีกำลังน้อยกว่าที่คาด<ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A</ref>
 
'''กบฏบวรเดช''' เป็นการกบฏด้วยกำลังเพื่อล้มล้างรัฐบาล[[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พระยาพหลพลพยุหเสนา]] การกบฏเริ่มขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติสยาม]] สาเหตุเกิดมาจากความผิดหวังตำแหน่งทางการเมืองของ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] และมีความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่เข้ามาสมทบ
เส้น 68 ⟶ 66:
 
ในช่วงวางแผนการ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร|กรมขุนชัยนาทนเรนทร]], หม่อมเจ้าวงศ์นิรชร เทวกุล และพระองค์เจ้าบวรเดช ลงไปเข้าเฝ้าในหลวงที่วังไกลกังวล<ref>เพลิง ภูผา, 2557. ''กบฏสะท้านแผ่นดิน''</ref> พระองค์เจ้าบวรเดชอาสาเป็นผู้นำ "กองทัพสีน้ำเงิน" และได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจะเปลี่ยนแปลงใหม่ ในหลวงคัดค้านหนัก พระองค์เจ้าบวรเดชโกรธในหลวงและกลับมาพูดกับนายทหารคนอื่นว่า ''"ถ้าท่านไม่เล่นกับเราเราก็หาคนใหม่!"''<ref name="poon"/> อย่างไรก็ตาม ต่อมามีเช็คสั่งจ่ายของพระคลังข้างที่ให้แก่พระองค์เจ้าบวรเดชเป็นจำนวน 200,000 บาท<ref name ="Jaijing">ณัฐพล ใจจริง, 2556 : 22-27</ref>สันนิษฐานว่าเป็นฝีมือของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์|กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]] หลังจากนั้น [[หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล]] ราชเลขานุการก็เป็นผู้ประสานงานอย่างใกล้ชิดกับผู้นำกองทัพสีน้ำเงิน<ref name ="Jaijing"/> นอกจากนี้ พระองค์เจ้าบวรเดชยังได้เงินจาก[[มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย|มหามกุฏราชวิทยาลัย]]อีก 200,000 บาท เนื่องจาก[[พระยาเสนาสงคราม (อี๋ นพวงศ์)|พระยาเสนาสงคราม]] แม่ทัพกบฎฝ่ายนครสวรรค์ เป็นลูกพี่ลูกน้องกับ[[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์]]
 
คณะกู้บ้านกู้เมืองนั้นเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เหนียวแน่นนักระหว่างทหารหัวเมืองซึ่งจงรักภักดีต่อพระองค์เจ้าบวรเดช พระยาสิทธิสงครามและพวก อีกทั้งพลเรือน (รวมทั้งหม่อมเจ้า ๒-๓ พระองค์) ซึ่งเป็นสมาชิกของคณะชาติซึ่งไม่ได้รับอนุญาตให้ตั้งคณะการเมืองมาก่อนหน้านี้ในสมัยรัฐบาลพระยามโนฯ ดังนั้น จึงคล้ายกับว่าเป็นแนวร่วมระหว่างกลุ่มซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงเรียกคำข้างต้นว่าเป็น “พวกนิยมกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ” กับ “พวกนิยมสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างถอนตัวไม่ขึ้น” คณะกู้บ้านกู้เมือง ตั้งความหวังไว้ด้วยว่าทหารบกบางส่วนในกรุงเทพฯ ซึ่งภักดีต่อพระยาทรงสุรเดชจะให้การสนับสนุน หากแต่ว่าทหารบกส่วนนี้ได้วางเฉยและเป็นทีว่าได้ปล่อยข่าวแผนการของคณะกู้บ้านกู้เมืองให้หลวงพิบูลสงครามทราบ[4] นับเป็นปัจจัยที่ทำให้ฝ่าย “กบฏ” มีกำลังน้อยกว่าที่คาด<ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A</ref>
 
===การเตรียมการของฝ่ายรัฐบาล===