ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระแสไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Enwuft (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ohm's Law with Voltage source TeX.svg|thumb|upright=1.2|วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V=IR; ความสัมพันธ์นี้เป็นไปตาม [[กฏของโอห์ม]]|232x232px]]
{{ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า}}
'''กระแสไฟฟ้า''' ({{lang-en|Electricelectric current}}) คือการไหลของ[[ประจุไฟฟ้า]]ในวงจรไฟฟ้า [[อิเล็กตรอน]]ที่เคลื่อนที่ในประจุยังสามารถถูกนำพาโดย[[ไอออน]]ได้เช่นกันในสาร[[อิเล็กโทรไลต์]] หรือโดยทั้งไอออนและ[[อิเล็กตรอน]]เช่นใน [[พลาสมา]]<ref>{{cite book
| title = The electronics companion
| author = Anthony C. Fischer-Cripps
บรรทัด 45:
 
สัญลักษณ์ตามธรรมเนียมปฏิบัติสำหรับกระแสไฟฟ้าคือ <math>I</math> ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากวลีภาษาฝรั่งเศสว่า ''intensité de courant'' หมายถึง[[ความเข้มของกระแส]] ({{lang-en|current intensity}})<ref>T. L. Lowe, John Rounce, ''Calculations for A-level Physics'', p. 2, Nelson Thornes, 2002 ISBN 0-7487-6748-7.</ref><ref>Howard M. Berlin, Frank C. Getz, ''Principles of Electronic Instrumentation and Measurement'', p. 37, Merrill Pub. Co., 1988 ISBN 0-675-20449-6.</ref>
ความเข้มของกระแสนี้มักจะหมายถึงง่าย ๆ ว่า ''กระแส''.<ref>K. S. Suresh Kumar, ''Electric Circuit Analysis'', Pearson Education India, 2013, ISBN 9332514100, section 1.2.3 "'Current intensity' is usually referred to as 'current' itself."</ref> สัญลักษณ์ <math>I</math> ถูกใช้โดย [[อ็องเดร-มารี อ็องแปร์]] หลังจากที่ชื่อของเขาถูกตั้งให้เป็นหน่วยของกระแสไฟฟ้าในการจัดตั้ง [[กฏแรงของแอมแปร์|กฏของแอมแปร์]] ที่ถูกค้นพบในปี 1820.<ref>A-M Ampère, [http://www.ampere.cnrs.fr/textes/recueil/pdf/recueilobservationsd.pdf ''Recuil d'Observations Électro-dynamiques''], p. 56, Paris: Chez Crochard Libraire 1822 (in French).</ref> ชื่อเสียงของเขาเดินทางจากฝรั่งเศสไปยังอังกฤษจนกลายเป็นมาตรฐานที่นั่น ทั้ง ๆ ที่มีอย่างน้อยหนึ่งสิ่งพิมพ์ที่ไม่ยอมเปลี่ยนจากการใช้ <math>C</math> ไปเป็น <math>I</math> จนกระทั่งปี 1896<ref>[http://books.google.com/books?id=BCZLAAAAYAAJ ''Electric Power''], vol. 6, p. 411, 1894.</ref>
 
== ธรรมเนียมปฏิบัติ ==
บรรทัด 52:
[[ไฟล์:Battery symbol2.svg|thumb|right|100px|สัญญลักษณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับแบตเตอรีในแผนภาพของวงจร ({{lang-en|circuit diagram}})]]
 
การไหลของประจุบวกจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหมือนกันและมีผลเช่นเดียวกันกับกระแสที่เกิดจากประจุลบที่ไหลในทิศทางตรงกันข้าม เนื่องจากกระแสไฟฟ้าอาจเกิดจากการไหลของประจุบวกหรือประจุลบ หรือทั้งสองอย่าง ความเข้าใจในทิศทางการไหลของกระแสจึงขึ้นอยู่ว่าประจุชนิดไหนที่ทำให้เกิดกระแส ทิศทางของ'กระแสตามธรรมเนียมปฏิบัติ' ({{lang-en|conventional current}}) ถูกกำหนดให้เป็นทิศทางของการไหลของประจุบวก<ref>[http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/eng1.htm], กระแสไฟฟ้าในตัวนำ ม.เกษตร</ref>
 
ในโลหะที่ใช้ทำสายไฟและตัวนำอื่น ๆ ในวงจรไฟฟ้าส่วนใหญ่ นิวเคลียสของอะตอมจะมีประจุบวกที่จะถูกจับเอาไว้ในตำแหน่งที่คงที่ และมีอิเล็กตรอนที่จะมีอิสระที่จะเคลื่อนที่ ที่สามารถนำพาประจุของพวกมันจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ ในวัสดุอื่น ๆ เช่นสารกึ่งตัวนำ พาหะของประจุสามารถนำพาประจุบวกหรือประจุลบก็ได้ขึ้นอยู่กับสารเจือปน ({{lang-en|dopant}}) ที่สารกึ่งตัวนำใช้ พาหะของประจุอาจนำพาทั้งประจุบวกและประจุลบในเวลาเดียวกันก็ได้ เช่นที่เกิดขึ้นใน [[เซลล์ไฟฟ้าเคมี]]
 
การไหลของประจุบวกสามารถให้กระแสไฟฟ้าได้เช่นเดียวกันและให้ผลในวงจรไฟฟ้าเป็นการไหลที่เหมือนกับของประจุลบแต่ในทิศทางตรงกันข้าม เนื่องจากกระแสอาจเป็นการไหลของประจุบวกหรือประจุลบอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง ธรรมเนียมปฏิบัติจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทิศทางของกระแสไฟฟ้าที่ขึ้นอยู่กับชนิดของ [[พาหะของประจุ]] ทิศทางของ"กระแสตามธรรมเนียมปฏิบัติ" ได้ถูกกำหนดตามอำเภอใจให้เป็นทิศทางเดียวกันกับการไหลของประจุบวก
 
ผลที่ตามมาของธรรมเนียมปฏิบัตินี้ก็คือ อิเล็กตรอนซึ่งเป็นพาหะของประจุในลวดโลหะและชิ้นส่วนอื่น ๆ ส่วนใหญ่ของวงจรไฟฟ้า จะไหลในทิศทางตรงข้ามกับ'การไหลของกระแสตามธรรมเนียมปฏิบัติ' ({{lang-en|conventional current}}) ในวงจรไฟฟ้า
 
== ทิศทางอ้างอิง ==
บรรทัด 68:
==กฎของโอห์ม==
 
ในวงจรไฟฟ้าใด ๆ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าและตัวต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะใส่เข้าไปในวงจรไฟฟ้านั้น ๆ เพราะฉะนั้น ความสำคัญของวงจรที่จะต้องคำนึงถึงเมื่อมีการต่อวงจรไฟฟ้าใด ๆ ก็คือทำอย่างไรจึงจะไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในวงจรมากเกินไปซึ่งจะทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าชำรุดเสียหายหรือวงจรไหม้เสียหายได้ ้ นายยอร์จ'''[[เกออร์ค ซีมอนม็อน โอห์ม]]''' นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ให้ความสำคัญของวงจรไฟฟ้าตามสมการ
 
:<math>I = \frac{V}{R}</math>
บรรทัด 76:
== DC และ AC ==
 
กระแสแบ่งออกเป็น[[กระแสตรง]] ({{lang-en|Directdirect Currentcurrent}}) และ[[กระแสสลับ]] ({{lang-en|Alternatingalternating Currentcurrent}})
 
=== กระแสตรง ===
บรรทัด 82:
[[ไฟล์:Types of current.svg|thumb|แสดงความแตกต่างของกระแสตรงกับกระแสสลับ โดยให้แนวตั้งเป็นปริมาณกระแส แนวนอนเป็นเวลา ถ้าเป็นกระแสตรง เมื่อเวลาผ่านไป กระแสไม่เปลี่ยนทิศ แต่กระแสสลับ บางครั้งก็เป็นบวก บางครั้งก็เป็นลบ แสดงว่ากระแสมีการเปลี่ยนทิศทาง]]
 
กระแสตรง (DC) คือการไหลทิศทางเดียวของประจุไฟฟ้า กระแสตรงเกิดจากแหล่งที่มาเช่นแบตเตอรี่, เทอร์โมคัปเปิล, เซลล์แสงอาทิตย์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงอื่นๆ กระแสตรงอาจไหลในตัวนำเช่นลวด แต่ยังสามารถไหลผ่านเซมิคอนดักเตอร์, ฉนวนหรือแม้กระทั่งผ่านสุญญากาศเช่นในลำแสงไอออน ประจุไฟฟ้าไหลในทิศทางที่คงที่แตกต่างไปจากกระแสสลับ (AC) กระแสตรงแทบไม่มีอันตราย ส่วนใหญ่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์ขนาดเล็ก ใช้กระแสต่ำ สามารถผลิตได้จากการนำกระแสสลับมาเปลี่ยนเป็นกระแสตรง เช่นที่ชาร์จโทรศัพท์มือถือ
 
===กระแสสลับ===
ในกระแสสลับ (AC หรือ ac), เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ากลับไป-กลับมาอย่างรวดเร็ว เช่นไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านหรืออาคารทั่วไป รูปร่างเป็น sine wave ในบางอย่างอาจเป็นรูปสามเหลี่ยมหรือรูปสี่เหลี่ยม ส่วนใหญ่มีกระแสสูง อันตรายมาก สามารถผลิตจากไฟ DC ได้ แต่ในขนาดเล็ก เช่นเปลี่ยนจากไฟเซลล์แสงอาทิตย์มาเป็น AC เพื่อให้แสงสว่างหรือเปิดทีวีในพื้นที่ห่างไกล ระบบไฟฟ้ากระแสสลับแบ่งออกได้เป็น 2 ระบบ ดังนี้
 
1. ระบบไฟฟ้า 1 เฟส คือระบบไฟฟ้าที่มีสายไฟฟ้าจำนวน 2 เส้น เส้นที่มีไฟเรียกว่าสายไฟ หรือสายเฟส หรือสายไลน์ เขียนแทนด้วยตัวอักษร L (Line) เส้นที่ไม่มีไฟเรียกว่าสายนิวทรอล หรือสายศูนย์ เขียนแทนด้วยตัวอักษร N (Neutral) ทดสอบได้โดยใช้ไขควงวัดไฟ เมื่อใช้ไขควงวัดไฟแตะสายเฟส หรือสายไฟ หรือสายไลน์ หลอดไฟเรืองแสงที่อยู่ภายไขควงจะติด สำหรับสายนิวทรอล หรือสายศูนย์ จะไม่ติด แรงดันไฟฟ้าที่ใช้มีขนาด 220 โวลท์ (Volt) ใช้สำหรับบ้านพักอาศัยทั่วไปที่มีการใช้ไฟฟ้าไม่มากนัก
 
2. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส คือระบบไฟฟ้าที่มีสายเส้นไฟจำนวน 3 เส้น และสายนิวทรอล 1 เส้น จึงมีสายรวม 4 เส้น ระบบไฟฟ้า 3 เฟส สามารถต่อใช้งานเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส ได้ โดยการต่อจากเฟสใดเฟสหนึ่งและสายนิวทรอลอีกเส้นหนึ่ง แรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟสเส้นใดเส้นหนึ่งกับสายนิวทรอลมีค่า 220 โวลท์ (Volt) และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟสด้วยกันมีค่า 380 โวลท์ (Volt) ระบบนี้จึงเรียกว่าระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 220/380 โวลท์ (Volt) ระบบนี้มีข้อดีคือสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าระบบ 1 เฟส ถึง 3 เท่า จึงเหมาะสมกับสถานที่ที่ต้องการใช้ไฟฟ้ามาก ๆ เช่น อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรม​ เป็นต้น
 
==แม่เหล็กไฟฟ้า==
บรรทัด 95:
ตามรูป กระแสไฟฟ้าสามารถสร้างสนามแม่เหล็กได้ ในทางกลับกัน ถ้าสนามแม่เหล็กถูกรบกวน ก็สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าบนเส้นลวดได้เช่นเดียวกัน
 
กระแสไฟฟ้าสามารถวัดได้โดยตรงด้วยกัลวาโนมิเตอร์ แต่จะต้องตัดวงจรแล้วแทรก[[มิเตอร์]]เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของวงจร ซึ่งไม่สะดวกในการปฏิบัติ ปัจจุบันสามารถวัดได้โดยไม่ต้องตัดวงจรโดยการตรวจสอบสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการนี้รวมถึงเซ็นเซอร์แบบฮอลล์เอฟเฟค หรือใช้ที่หนีบ (current clamp) หรือใช้หม้อแปลงกระแส หรือใช้ขดลวดของ Rogowski
 
 
== นิยามของกระแสไฟฟ้า ==
กระแสไฟฟ้าคือ ปริมาณ[[ประจุไฟฟ้า]]ที่เลื่อนไหลในวงจรไฟฟ้าต่อหน่วย[[วินาที]] เรียกว่า ปริมาณกระแสไฟฟ้าไหล
แอมแปร์ คือประจุไฟฟ้า 1 [[คูลอมบ์]] เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของขดลวดในเวลา 1 วินาที และหน่วยของกระแสไฟฟ้าเป็นแอมแปร์ เพื่อให้เป็นเกียรติแก่ อองเดร[[อ็องเดร-มารี เอ็ม.แอมแปร์อ็องแปร์]] ({{Lang-en|Andre Marie Ampere}}) [[นักฟิสิกส์]]ชาว[[ฝรั่งเศส]]
 
== ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับประจุไฟฟ้า ==
บรรทัด 107:
ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผ่านพื้นที่ภาคตัดขวางใดๆ (เช่น ภาคตัดขวางในลวดทองแดง) นิยามจาก ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผ่านพื้นที่ผิวในหน่วยเวลา<ref>[http://science.sut.ac.th/physics/courses/105102/55-T3/Lecture/sec1/L3.pdf], กระแสไฟฟ้า ม.สุรนารี</ref>
: <math>I = {Q \over T}</math>
โดยที่ <math>Q</math> เป็นปริมาณประจุที่ผ่านพื้นที่ผิวหนึ่งในช่วงเวลา <math>T</math> ในสมการข้างบนเป็นค่า'''กระแสไฟฟ้าเฉลี่ย''' <math>I</math> ถ้าเวลา <math>T</math> เข้าใกล้ศูนย์ สามารถเขียนความสัมพันธ์อีกแบบในรูป'''กระแสไฟฟ้าขณะใดขณะหนึ่ง''' (instantaneous current)
: <math>i (t) = {dq (t) \over dt}</math> หรือผันกลับได้ <math>q (t) = \int_{-\infty}^{t} i (x) \, dx</math>
หน่วยของกระแสไฟฟ้าในระบบ SI คือ [[แอมแปร์]] (ampere, A)