ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 57:
== ปัจจัยเสี่ยง ==
[[ไฟล์:Incidence_of_CCA_and_O._viverrini_in_Thailand_from_1990–2001.jpg|thumb|400px|อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีในประเทศไทยช่วงปี ค.ศ. 1990-2001 เทียบกับความชุกของโรคติดเชื้อพยาธิ ''Opisthorcis viverrini'']]
 
แม้ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่มีปัจจัยเสี่ยงชัดเจนแต่ก็ได้มีการศึกษาพบว่ามีปัจจัยเสี่ยงบางอย่างที่สัมพันธ์กับมะเร็งท่อน้ำดี ในโลกตะวันตกปัจจัยเสี่ยงที่พบมากที่สุดคือการเป็นโรค[[ท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิ]] (primary sclerosing cholangitis - PSC) ซึ่งเป็นโรคท่อน้ำดีอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้มีการหนาแข็งของท่อน้ำดี โรคนี้มีความสัมพันธ์กับโรค[[ลำไส้ใหญ่อักเสบแบบมีแผล]] (ulcerative colitis) อีกทีหนึ่ง<ref>{{cite journal |author=Chapman R |title=Risk factors for biliary tract carcinogenesis |journal=Ann Oncol |volume=10 Suppl 4 |issue= |pages=308–11 |year= |pmid=10436847}}</ref> การศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยาแสดงให้เห็นว่าอัตราเสี่ยงตลอดชีวิตของผู้ป่วย PSC ที่จะเป็นมะเร็งท่อน้ำดีอยู่ที่ 10-10–15%<ref>งานวิจัยทางระบาดวิทยาที่ศึกษาเรื่องอุบัติการณ์ของการเกิดมะเร็งท่อน้ำดีในผู้ป่วยท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Bergquist A, Ekbom A, Olsson R, Kornfeldt D, Lööf L, Danielsson A, Hultcrantz R, Lindgren S, Prytz H, Sandberg-Gertzén H, Almer S, Granath F, Broomé U |title=Hepatic and extrahepatic malignancies in primary sclerosing cholangitis |journal=J Hepatol |volume=36 |issue=3 |pages=321–7 |year=2002 |pmid=11867174 |doi=10.1016/S0168-8278 (01) 00288-4}}
* {{cite journal |author=Bergquist A, Glaumann H, Persson B, Broomé U |title=Risk factors and clinical presentation of hepatobiliary carcinoma in patients with primary sclerosing cholangitis: a case-control study |journal=Hepatology |volume=27 |issue=2 |pages=311–6 |year=1998 |pmid=9462625 |doi=10.1002/hep.510270201}}