ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| image = Luang Prasoet Chronicle 1907 cover.jpg
| width = 250px
| caption = ปกฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2450
| image2 =
| width2 =
บรรทัด 40:
}}
 
'''''พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ''''' เป็น[[พงศาวดารไทย|พระราชพงศาวดารไทย]]ซึ่ง[[พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)|หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ (แพ ตาละลักษมณ์)]] พบต้นฉบับที่บ้านราษฎรแห่งหนึ่งและนำมาให้[[หอพระสมุดวชิรญาณ]]ใน พ.ศ. 2450 หอพระสมุดจึงตั้งชื่อว่า ''ฉบับหลวงประเสริฐ'' ให้เป็นเกียรติแก่ผู้พบ<ref name = ":11"/>
 
[[บานแผนก]]ของพงศาวดารกล่าวว่า พงศาวดารนี้เกิดจากการที่มีรับสั่งใน จ.ศ. 1042 (พ.ศ. 2223) ให้คัดจดหมายเหตุต่าง ๆ เข้าด้วยกัน<ref name = ":2"/> และนักประวัติศาสตร์เห็นว่า ผู้มีรับสั่ง คือ [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] เพราะปีที่ระบุไว้ตรงกับรัชสมัยของพระองค์<ref name = ":10"/><ref name = ":15"/><ref name = ":16"/><ref name = ":4"/> นอกจากนี้ พงศาวดารไม่ได้เอ่ยถึงผู้แต่ง แต่นักประวัติศาสตร์ชาวตะวันตกบางคนเชื่อว่า เป็นผลงานของโหรหลวงที่มีบรรดาศักดิ์ว่า "โหราธิบดี"<ref name = ":12"/><ref name = ":13"/>