ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธบัตรอัตราผลตอบแทนสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
+ คำอธิบาย
บรรทัด 1:
ในทางการเงิน '''ตราสารหนี้อัตราผลตอบแทนสูง''' <!--ใช้คำว่า "ตราสารหนี้" เนื่องจากตราสารหนี้ครอบคลุมตราสารทั้งภาครัฐบาล (พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง) และภาคเอกชน (หุ้นกู้ ตั๋ว B/E P/N) แต่ "พันธบัตร" หมายถึงตราสารหนี้ระยะยาวภาครัฐบาลเพียงอย่างเดียว--> ('''ตราสารหนี้ที่ไม่ใช่อันดับการลงทุน''', '''ตราสารหนี้ที่มีอันดับเก็งกำไร''' หรือ '''ตราสารหนี้ขยะ''') ({{lang-en|Junk Bond หรือ Speculative Bond}}) เป็นตราสารหนี้ที่อยู่ในระดับต่ำกว่าระดับน่าลงทุน (คือ ตั้งแต่ระดับ BB+ ลงไป จนถึง D) <ref name = "ThaiBMA-Rating">{{cite web | title =อันดับความน่าเชื่อถือ (Credit Rating)| publisher =สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย|url=http://www.thaibma.or.th/EN/Investors/Individual/Blog/CreditRating.aspx|accessdate =3 กรกฎาคม 2563}}</ref> ตราสารหนี้เหล่านี้มีความเสี่ยงสูงจากการผิดนัดชำระหนี้หรือสินเชื่อที่ไม่พึงประสงค์อื่น ๆ แต่ให้อัตราผลตอบแทนที่สูงกว่าตราสารหนี้ที่มีคุณภาพที่ดีเพื่อที่จะดึงดูดนักลงทุน โดยตราสารหนี้ที่มีอันดับเครดิตที่ต่ำมากเท่าไร ก็จะมีผลตอบแทนที่สูงขึ้นมากเท่านั้น
 
== อ้างอิง ==