ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟบ้านปิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paweeraphat Thasee (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับเปลี่ยนความสวยงาม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
สงสัยต้องเขียนใหม่หมดละมั้งเนี่ย
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
{{Infobox station
| name = สถานีรถไฟบ้านปิน
| type =
| style =บาวาเรียน (Bavarian Timber Farmhouse)
| image = สถานีรถไฟบ้านปิน.jpg
 
| image_size =
| image_caption = สถานีรถไฟถ่ายจากทางทิศใต้ของสถานี
| address = 203 บ้านใหม่ หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านปิน [[อำเภอลอง]] [[จังหวัดแพร่]] 54150
| coordinates =
| line = [[ทางรถไฟ{{SRT Lines|สายเหนือ]]}}
| Age = 103ปี
| other =
| structure = ระดับดิน
เส้น 18 ⟶ 17:
| levels =2
| tracks =
| signal = สายลวด หางปลา ไม่มีสัญญาณเตือน ใช้ห่วงทางสะดวก
| parking = ลานจอดรถหน้าสถานี
| bicycle =
| baggage_check = ใช้พนักงานตรวจ
| opened = {{วันเกิด-อายุ|2457|6|15}} [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6
| closed =
| rebuilt =
| electrified =
| ADA = 054583480
| code = 1172
| owned = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
| zone =
| zone =ช่องจำหน่ายตั๋วทุกสถานีรถไฟ
| smartcardname =บ้านปิน
| smartcardstatus =สถานีรถไฟ
| former =
| passengers = ไม่ต่ำกว่า 50 คน /วัน {{อ้างอิง}}
| pass_percent =
| pass_system =
| mpassengers =10 ขบวนที่จอดสถานีนี้
| services =ดี
| map_locator =https://goo.gl/maps/E1ihbxV8ETQEbNTs7
|The train station=2|years old=|name_full_th=บ้านปิน|map=}}{{ป้ายสถานีรถไฟ2
<!--สถานีปัจจุบัน-->
|name_th = บ้านปิน
เส้น 55 ⟶ 54:
|seealso = สายเหนือ
}}
'''สถานีรถไฟบ้านปิน''' ({{Lang-en|Ban Pin Railway Station}}) เป็นสถานีรถไฟประจำอำเภอลอง อยู่ในระดับสองบน[[ทางรถไฟสายเหนือ|เส้นทางรถไฟสายเหนือ เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียว(กรุงเทพ–เชียงใหม่)]] ตั้งอยู่ในจังหวัดแพร่ที่ระดับสถานีรถไฟตำบลบ้านปิน เป็นระดับ 2 มีจำนวนย่านทางรถไฟ 5 ทาง เป็นทางหลัก 1 ทาง ทางหลีก 3 ทาง ทางตัน 1 ทาง รางติดชานชาลา 2 ทาง โดยเป็นสถานีรองจาก[[สถานีรถไฟเด่นชัยอำเภอลอง]] ที่เป็นสถานีประจำอำเภอเด่นชัย และ[[จังหวัดแพร่]] ซึ่งสถานีรถไฟบ้านปินอยู่อยู่ห่างจาก[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]เป็นระยะทาง 563.86 [[กิโลเมตร]] สถานีบ้านปินตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 203 ถนนเทศบาลตำบลบ้านปิน บ้านใหม่ หมู่ที่4 ตำบลบ้านปิน ระหว่าง[[อำเภอลองที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า]] กับ[[จังหวัดแพร่สถานีรถไฟผาคัน]] ทางเหนือโดยช่วงระหว่างสถานีบ้านปินกับสถานีผาคัน เป็นที่ตั้งของสถานีมี[[อุโมงค์ห้วยแม่ลาน]] ซึ่งมีความยาว 130.20 เมตร ระหว่างกิโลเมตรที่ 574.04 ถึง 574.17อยู่ระหว่างห่างจากสถานีบ้านปินไปประมาณ กับสถานีผาคัน11 กิโลเมตร
 
สถานีบ้านปินก่อสร้างและเปิดเดินรถในสมัยรัชกาลที่ 6 อาคารสถานีมีรูปแบบสถาปัตยกรรมบาวาเรียนผสมอับสถาปัตยกรรมไทยอันเป็นเอกลักษณ์ ตัวสถานีมีทางรถไฟ 5 ทาง เป็นทางหลัก 1 ทาง ทางหลีก 3 ทาง ทางตัน 1 ทาง และมี 2 ชานชาลา ย่านสถานีมีหอประแจและหอเติมน้ำสำหรับรถจักรไอน้ำซึ่งปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว นอกจากนี้ยังเคยมีโรงซ่อมรถซึ่งใช้งานครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 แต่ปัจจุบันถูกรื้อถอนแล้ว
สถานีรถไฟบ้านปิน อยู่ระหว่างสถานีห้วยแม่ต้า หรือ[[ที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า]] บ้านห้วยแม่ต้า หมู่ที่7 ตำบลบ้านปิน [[อำเภอลอง]] [[จังหวัดแพร่]] กับ[[สถานีรถไฟผาคัน]] บ้านผาคัน หมู่ที่10 ตำบลบ้านปิน [[อำเภอลอง]] [[จังหวัดแพร่]]
 
== ประวัติ ==
== ข้อมูลจำเพาะ ==
สถานีรถไฟบ้านปิน สร้างก่อสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 และเปิดใช้งานเดินรถครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราชพ.ศ. 2457 หรือคริสต์ศักราช 1914 เป็น[[ทางรถไฟสายเหนือ|ช่วงการก่อสร้างโดยเส้นทางและทดลองเดินรถในช่วงที่ 9]] ของการสร้างทางรถไฟสายเหนือ ระหว่าง '''ห้วยแม่ต้า-บ้านปิน''' ซึ่งมีระยะทาง 13 กิโลเมตร โดยการและเป็นส่วนหนึ่งของ[[ทางรถไฟหลวงแห่งสยามที่สายเหนือ]] มีพลเอก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] เป็นผู้บัญชาการ และมีนายช่างชาวเยอรมัน ชื่อ เอมิล ไอเซนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง
* ประเภทเส้นทาง : ทางรถไฟทางไกลสายเหนือ
* รหัส  : 1172
* ชื่อภาษาไทย  : บ้านปิน
* ชื่อภาษาอังกฤษ : Ban Pin
* ชื่อย่อภาษาไทย : บป.
* ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : BPN.
* ชั้นสถานี  : สถานีรถไฟชั้น 2
* ระบบอาณัติสัญญาณ : หางปลา ไม่มีสัญญาณเตือน ใช้ห่วงทางสะดวก
* พิกัดที่ตั้ง  : หลังสถานีมีแม่น้ำห้วยแม่ลานและติดตัวตำบลบ้านปิน ห่างจากถนน 1023 สายแพร่ - ลอง 1 กิโลเมตร
* ที่อยู่  : 203 บ้านใหม่ หมู่ที่4 ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่ 54150
* ขบวนรถ/วัน:จอด 10 ขบวน รถด่วนพิเศษดีเซลราง รถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว ท้องถิ่น และรถสินค้า/น้ำมัน
* ปริมาณผู้โดยสาร/วัน : ไม่ต่ำกว่า 50 คน
* สถานีก่อนหน้า : [[ที่หยุดรถไฟห้วยแม่ต้า|ที่หยุดรถห้วยแม่ต้า]]
* สถานีก่อนหน้า(ที่ไม่ใช่ที่หยุดรถหรือป้ายหยุดรถ) : [[สถานีรถไฟแก่งหลวง]]
* สถานีถัดไป : [[สถานีรถไฟผาคัน]]
* ห่างจากสถานีกรุงเทพ : 563.86 กิโลเมตร
 
== สถาปัตยกรรม ==
== ตารางเดินรถสถานีรถไฟบ้านปิน ==
อาคารสถานีรถไฟบ้านปิน เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียวของไทยที่สร้างด้วยมีสถาปัตยกรรมแบบบาวาเรียนทิมเบอร์เฟรมเฮาส์ หรือแบบโครงไม้ อันเป็นแบบที่ซึ่งได้รับความนิยมอย่างยิ่งใน[[แคว้นบาวาเรีย]] [[ประเทศเยอรมนี]] ผสมกับสถาปัตยกรรมแบบไทยคืออย่าง[[หลังคาทรงปั้นหยา|เรือนปั้นหยา]] ด้วยต้องการแสดงอิทธิพลให้กับชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวตะวันตกได้รับรู้ อันเนื่องจากในยุคสมัยนั้นยังคงเป็นยุค[[ล่าอาณานิคม]]อยู่ ตัวสถานีสีของอาคารเป็นสีเหลืองอมส้ม
<nowiki>*</nowiki>ข้อมูลเมื่อ 2 กรกฎาคม 2563
 
== ตารางเดินรถสถานีรถไฟบ้านปิน ==
<nowiki>*</nowiki>ขบวน 9051/9052 เป็นขบวนรถด่วนช่วยการโดยสาร เนื่องจากการแพร่ระบาดของ[[โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019|เชื้อไวรัสโคโรน่า2019]] ปัจจุบันยกเลิกแล้ว
{{updated|2 กรกฎาคม 2563}}
 
=== เที่ยวไป ===
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บ้านปิน}}{{ร109|00.17}}{{ด51|07.56}}{{ดพ13|04.53}}{{ท407|10.50}}{{ด9051ดพ7|1415.4557}}{{ดพ9|ไม่จอดสถานนี้}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
มีจำนวน 4 ขบวน หยุดสถานี 3 ขบวน
 
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บ้านปิน}}{{ร109|00.17}}{{ด51|07.56}}{{ดพ13|04.53}}{{ท407|10.50}}{{ด9051|14.45
(ยกเลิกแล้ว)}}{{ดพ7|15.57}}{{ดพ9|ไม่จอดสถานนี้}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
 
=== เทียวกลับ ===
(ยกเลิกแล้ว){{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บ้านปิน}}{{ร102|10.11}}{{ดพ8|12.09}}{{ท408|13.42}}{{ด52|19.48}}{{ดพ14|21.50}}{{ดพ10|ไม่จอดสถานีนี้}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
มีจำนวน 4 ขบวน หยุดสถานี 3 ขบวน
 
== ระเบียงภาพ ==
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|บ้านปิน}}{{ด9052|09.24
(ยกเลิกแล้ว)}}{{ร102|10.11}}{{ดพ8|12.09}}{{ท408|13.42}}{{ด52|19.48}}{{ดพ14|21.50}}{{ดพ10|ไม่จอดสถานีนี้}}{{จบตารางเวลารถไฟ}}
 
== ข้อมูลประวัติการสร้างสถานี และรูปแบบสถานีรถไฟบ้านปิน ==
สถานีรถไฟบ้านปิน สร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 เปิดใช้งานเดินรถครั้งแรก วันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราช 2457 หรือคริสต์ศักราช 1914 เป็น[[ทางรถไฟสายเหนือ|ช่วงการก่อสร้างเส้นทางและทดลองเดินรถในช่วงที่ 9]] ของการสร้างทางรถไฟสายเหนือ ระหว่าง '''ห้วยแม่ต้า-บ้านปิน''' ระยะทาง 13 กิโลเมตร โดยการรถไฟหลวงแห่งสยามที่มีพลเอก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน]] เป็นผู้บัญชาการและมีนายช่างชาวเยอรมัน ชื่อ เอมิล ไอเซนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง
 
สถานีบ้านปิน เป็นสถานีรถไฟแห่งเดียวของไทยที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบบาวาเรียนทิมเบอร์เฟรมเฮาส์ หรือแบบโครงไม้ อันเป็นแบบที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่งใน[[แคว้นบาวาเรีย]] [[ประเทศเยอรมนี]] ผสมกับสถาปัตยกรรมแบบไทยคือ[[หลังคาทรงปั้นหยา|เรือนปั้นหยา]] ด้วยต้องการแสดงอิทธิพลให้กับชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวตะวันตกได้รับรู้ อันเนื่องจากในยุคสมัยนั้นยังคงเป็นยุค[[ล่าอาณานิคม]]อยู่ ตัวสถานีเป็นสีเหลืองอมส้ม
 
โดยหน้าสถานีจะมีหอประแจ เนื้องจากการสื่อสารสมัยนั้นยังไม่ค่อยดีข้างสถานีจะมีหอ แต่ปัจจุบันเลิกใช้งานแล้ว และข้างสถานีจะมีหอเติมน้ำสำหรับรถจักรไอน้ำ แต่ได้เลิกใช้งานแล้ว ปัจจุบันก็ยังเป็นรูปแบบตามเดิม แต่มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โดยการตกแต่งเพิ่มสีสันใหม่
 
== เอกลักษณ์เฉพาะของสถานีรถไฟบ้านปิน ==
 
# อาคารสถานีรถไฟสไตล์เฟรมเฮ้าส์ บาวาเรีย ซึ่งมีแห่งเดียวในประเทศไทย
# จะมีหอประแจสถานี และหอเติมน้ำรถจักรไอน้ำที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว
# ในปลายชานชลาด้านทิศเหนือจะมีทางข้ามทางรถไฟ เพื่อเข้าชุมชน
# ในปลายชานชลาด้านทิศใต้ไป 100 เมตร จะมีสะพานข้ามห้วยแม่ลาน ซึ่งห้วยจะโค้งไปหลังสถานีรถไฟบ้านปิน
# ทางทิศใต้ของสถานีรถไฟบ้านปินจะมีเนินเขาที่ขบวนรถไฟจากกรุงเทพลงเนินก่อนถึงสถานีบ้านปิน (คล้ายกับ[[สถานีรถไฟปางต้นผึ้ง]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]])
# ทางทิศเหนือและทิศใต้ของสถานีรถไฟจะมีภูเขากั้นขวางอยู่
# ด้านทิศเหนือของสถานีรถไฟบ้านปิน ไป 1 กิโลเมตร จะมีทางโค้งประมาณ 15 องศา หลังข้ามทางข้ามถนน1023 แพร่-ลองไปแล้ว ซึ่งก่อนที่ขบวนรถจากเชียงใหม่จะถึงสถานีรถไฟบ้านปินผู้โดยสารจะสามารถมองขบวนรถโค้งมาได้ด้วยตาเปล่า
 
== สิ่งก่อสร้างบริเวณรอบๆสถานี ==
# อาคารสถานีรถไฟ (รวมห้องประแจปัจจุบัน)
# หอประแจสถานีเดิม (อยู่ตรงข้ามอาคารสถานี ติดทางหลัก )
# หอเติมน้ำรถจักรไอน้ำในอดีต (อยู่ทางฝั่งใต้สถานี)
# ห้องน้ำสถานี (อยู่ทางฝั่งเหนือสถานี)
# อาคารร้านค้าในอดีต (อยู่ทางฝั่งใต้สถานี) ปัจจุบันเป็นห้องประชุมรับรอง
# บ้านพักพนักงานตู้รถไฟ (อยู่ทางฝั่งเหนือสถานี) และบ้านพักพนักงานอาคารไม้ (หลังสถานี)
# อาคารที่ทำการนายตรวจทางบ้านปิน (อยู่ทางฝั่งเหนือสถานี)
#โรงซ่อมรถไฟในอดีต(เครื่องชั่งน้ำหนัก) ติดตั้งเมื่อ 31 กรกฎาคม 2522 ปัจจุบันอาคารไม่เหลือร่องรอยแล้ว แต่เครื่องชั่งน้ำหนักถูกถอดวางไว้ (อยู่ตรงทาง4นับจากตัวสถานี)
#อาคารเครื่องกันตัดผ่านเสมอระดับทาง (อยู่ติดเสาเข้าเขตใน ถนนแพร่-ลอง ทางฝั่งเหนือ)
#ระบบอาณัติสัญญาณ
#สะพานข้ามห้วยแม่ลาน (อยู่ทางฝั่งเหนือสถานี)
 
== ภาพถ่ายประกอบ ==
 
=== ขอขอบคุณเจ้าของภาพทุกท่านนะครับ*** ===
<gallery>
ไฟล์:บป4.jpg|ผู้คนในสถานีรถไฟบ้านปิน ช่วงปี พ.ศ.2508-2515
เส้น 145 ⟶ 92:
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite book |title=จาก "เที่ยวเก๋าไหม ไป "ลอง" กัน": สถานีรถไฟบ้านปิน ประตูสู่เมืองลอง |last= |first= |authorlink=จริยา ชูช่วย |coauthors= |year=กุมภาพันธ์ 2561 |publisher=อ.ส.ท. |location= |isbn= |page= |pages=26-39 |url= |accessdate=}}
*หนังสือ {{cite book |title=ถ้าวันหนึ่ง ฉันจะนั่งรถไฟ หน้า124-127|last= |first= |authorlink= |coauthors= |year= โดย|publisher=กองโฆษณาและส่งเสริมการท่องเที่ยวศูนย์ประชาสัมพันธ์ |location= |isbn= |page=124-127 |pages= |url= |accessdate=}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลจำเพาะอื่น ==
*
* {{geolinks-bldg|18.096051|99.867053}}
<references /> หน้า ๐๒๖-๐๓๙, ''สถานีรถไฟบ้านปิน ประตูสู่เมืองลอง''. "เที่ยวเก๋าไหม ไป "ลอง" กัน" โดย จริยา ชูช่วย. [[อนุสาร อ.ส.ท.]]ปีที่ ๕๘ ฉบับที่ ๗: กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
*ข้อมูลวิกิพีเดีย [[รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ|สถานีรถไฟสายเหนือ]]
*ข้อมูลการรถไฟแห่งประเทศไทย
*ผู้คนที่อยู่อาศัย
*หนังสือ ถ้าวันหนึ่ง ฉันจะนั่งรถไฟ หน้า124-127 โดยกองโฆษณาและส่งเสริมการท่องเที่ยวศูนย์ประชาสัมพันธ์
*วราสารรถไฟสัมพันธ์
*Facebook https://web.facebook.com/pr.railway/
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|18.096051|99.867053}}
[[หมวดหมู่:อำเภอลอง]]
{{รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ}}
 
[[หมวดหมู่:จังหวัดแพร่]]
[[หมวดหมู่:สถานีรถไฟ สายเหนือ]]
[[หมวดหมู่:การรถไฟแห่งประเทศไทยอำเภอลอง]]