ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การให้เหตุผลแบบนิรนัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
อ้างอิง
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา และดูเพิ่ม
บรรทัด 68:
# <math>B = C</math>.
# เพราะฉะนั้น <math>A = C</math>.
 
==ความสมเหตุสมผลและความน่าเชื่อถือ==
[[File:Argument terminology used in logic (en).svg|thumb|400px|ศัพทวิทยาของการอ้างเหตุผล]]
การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยวัดได้โดย ''[[ความสมเหตุสมผล (ตรรกศาสตร์)|ความสมเหตุสมผล]]'' และ ''[[ความน่าเชื่อถือ (ตรรกศาสตร์)|ความน่าเชื่อถือ]]''.
 
การอ้างเหตุผลจะ “'''สมเหตุสมผล'''” ({{lang-en|validity}}) ถ้าเป็นไปไม่ได้ที่[[ข้อตั้ง]]จะเป็นจริงแต่ข้อสรุปเป็นเท็จ หรือพูดอีกแบบคือ ข้อสรุปต้องเป็นจริงถ้าข้อตั้งเป็นจริง การอ้างเหตุผลก็สามารถ "สมเหตุสมผล" ได้แม้ข้อตั้งบางข้อจะเป็นเท็จก็ตาม
 
การอ้างเหตุผลจะ “'''น่าเชื่อถือ'''” ({{lang-en|soundness}}) หรือสมบูรณ์ถ้ามัน ''สมเหตุสมผล'' และข้อตั้งทั้งหมดเป็นจริง
 
การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยที่ ''สมเหตุสมผล'' แต่ไม่ ''น่าเชื่อถือ'' เป็นไปได้ การอ้างเหตุผลวิบัติมักจะอยู่ในรูปแบบนั้น
 
ต่อไปนี้คือตัวอย่างของการอ้างเหตุผลที่ ''สมเหตุสมผล'' แต่ไม่ ''น่าเชื่อถือ'':
# ทุกคนที่กิน[[แคร์รอต]]เป็น[[กองหลัง]]
# จอห์นกินแคร์รอต
# เพราะฉะนั้น จอห์นเป็นกองหลัง
 
ข้อตั้งแรกของตัวอย่างเป็นเท็จ อาจจะมีคนที่กินแคร์รอตที่ไม่ได้เป็นกองหลัง แต่ข้อสรุปนั้นจะเป็นจริงเมื่อข้อตั้งเป็นจริงและข้อสรุปไม่มีวันเป็นเท็จเมื่อข้อตั้งเป็นจริง ก็คือการอ้างเหตุผลนี้ "สมเหตุสมผล" แต่ไม่ "น่าเชื่อถือ" การวางนัยทั่วไปเท็จ เช่น "ทุกคนที่กินแคร์รอตเป็นกองหลัง" มักจะถูกใช้ในการอ้างเหตุผลที่ไม่น่าเชื่อถือหรือไม่สมบูรณ์ ความจริงที่ว่าคนบางคนกินแคร์รอตแต่ไม่ได้เป็นกองหลังพิสูจน์ข้อบกพร่องของการอ้างเหตุผลนี้
 
การให้เหตุผลแบบนิรนัยสามารถแตกต่างกับ[[การให้เหตุผลแบบอุปนัย]]ในเรื่องของความสมเหตุสมผลและความน่าเชื่อถือ ในกรณีของการให้เหตุผลแบบอุปนัยถึงแม้ข้อตั้งจะเป็นจริงและการอ้างเหตุผล "สมเหตุสมผล" ข้อสรุปก็ยังเป็นไปได้ที่จะเป็นเท็จ (ตัดสินว่าเป็นเท็จได้ด้วยตัวอย่างค้านหรือวิธีอื่น)
 
== ประวัติ ==
[[แอริสตอเติล]] นัก[[ปรัชญากรีกโบราณ]] เริ่มบันทึกการให้เหตุผลแบบนิรนัยในศตวรรษที่สี่ก่อนคริสตศักราช<ref>
{{cite book
|editor1-last= Evans
|editor1-first= Jonathan St. B. T.
|editor2-last= Newstead
|editor2-first= Stephen E.
|editor3-last= Byrne
|editor3-first= Ruth M. J.
|editor3-link= Ruth M. J. Byrne
|title= Human Reasoning: The Psychology of Deduction
|url= https://books.google.com/books?id=iFMhZ4dl1KcC
|edition= Reprint
|publisher= Psychology Press
|publication-date= 1993
|page= 4
|isbn= 9780863773136
|accessdate= 2015-01-26
|quote= In one sense [...] one can see the psychology of deductive reasoning as being as old as the study of logic, which originated in the writings of Aristotle.
}}
</ref> ในหนังสือ [[Discourse on the Method]] ของ[[เรอเน เดการ์ต]] เขากลั่นกรองแนวคิดสำหรับการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ เดการ์ตพัฒนากฎสี่ข้อให้ทำตามเพื่อการพิสูจน์แนวคิดอย่างนิรนัยและวางรากฐานสำหรับส่วนที่เป็นนิรนัยของ[[ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์]] พื้นหลังของเดการ์ตในเรขาคณิตและคณิตศาสตร์มีอิทธิพลต่อแนวคิดของเขาเรื่องความจริงและการให้เหตุผลและเป็นเหตุให้เขาพัฒนาระบบของการให้เหตุผลทั่วไปที่ปัจจุบันนำมาใช้ในการให้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่ เดการ์ตเชื่อว่าแนวคิดสามารถชัดแจ้งในตัวและแค่การให้เหตุผลเท่านั้นที่สามารถพิสูจน์ว่าการสังเกตเชื่อถือได้คล้ายกับมูลบท แนวคิดเหล่านี้ก็วางรากฐานสำหรับแนวคิดของ[[เหตุผลนิยม]] (rationalism) <ref>{{Cite web|url=http://www.aub.edu.lb/fas/cvsp/Documents/Descartes.pdf|title=DESCARTES’ PROJECT OF INQUIRY|last=Samaha|first=Raid|date=3 March 2009|website=American University of Beirut|archive-url=|archive-date=|access-date=24 October 2019}}</ref>
 
==ดูเพิ่ม==
 
{{Portal|ปรัชญา}}
{{div col|colwidth=30em}}
* [[การให้เหตุผลแบบหรณนัย]] (Abductive reasoning)
* [[แนวเทียบ|การให้เหตุผลแบบแนวเทียบ]] (Analogy)
* [[การอ้างเหตุผล]] (Argument (logic))
* [[ทฤษฎีวิธีการให้เหตุผล]] (Argumentation theory)
* [[ทฤษฎีความจริงแบบสมนัย]] (Correspondence theory of truth)
* [[การตัดสินใจ]] (Decision making)
* [[ทฤษฎีการตัดสินใจ]] (Decision theory)
* [[การให้เหตุผลแบบเพิกถอนได้]] (Defeasible reasoning)
* [[เหตุผลวิบัติ]]
* [[การวิเคราะห์ต้นไม้แห่งความล้มเหลว]] (Fault tree analysis)
* [[เรขาคณิต]]
* [[วิธีสมมติฐาน-นิรนัย]] (Hypothetico-deductive method)
* [[การอนุมาน]]
* [[การสอบสวน]] (Inquiry)
* [[ตรรกบททางกฎหมาย]] (Legal syllogism)
* [[ตรรกศาสตร์และความมีเหตุผล]] (Logic and rationality)
* [[ผลพวงเชิงตรรกศาสตร์]] (Logical consequence)
* [[การให้เหตุผลเชิงตรรกศาสตร์]] (Logical reasoning)
* [[คณิตตรรกศาสตร์]]
* [[การนิรนัยธรรมชาติ]] (Natural deduction)
* [[ทฤษฎีการให้เหตุผลแบบนิรนัยของเพิร์ซ]] (Peirce's theory of deductive reasoning)
* [[แคลคูลัสเชิงประพจน์]]
* [[ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์]]
* [[ตรรกศาสตร์นามธรรม]] (Subjective logic)
* [[การให้ความถูกต้อง]] (Justification)
{{div col end}}
 
==อ้างอิง==