ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52:
พ.ศ. 2562 เติบโตในธุรกิจพาณิชย์ภายใต้แบรนด์ “ช้อป 1781” อย่างต่อเนื่องและสูงสุดเป็นประวัติการ และได้ทำการเปลี่ยนหมวดธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์จาก “สื่อและสิ่งพิมพ์” เป็น “พาณิชย์” รวมทั้งได้จับมือเป็นพันธมิตรกับ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) หรือ BTS เพื่อเป้าหมายในการขยายและเชื่อมโยงสื่อทุกช่องทางให้เกิดประโยชน์ทางธุรกิจ
 
พ.ศ. 2563 ช่วงเวลาสำคัญของอาร์เอส ประกาศปรับแบรนด์ใหม่สู่การเป็น “อาร์เอส กรุ๊ป” ยุคแห่ง Entertainmerce บนสำนักงานใหญ่แห่งใหม่ รวมทั้งได้รีแบรนด์ “ช้อป 1781” เป็น “[[อาร์เอส มอลล์ แชนแนล]]” ทางด้านแบรนด์ “ไลฟ์สตาร์” ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง, ช่อง 8, คูลลิซึ่ม, ธุรกิจเพลง ยังเป็นผู้นำตลาดและเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ธุรกิจพาณิชย์เติบโต[[ไฟล์:Thai band FFK 2.jpg|thumb|[[เฟย์ ฟาง แก้ว]] ศิลปินจากค่ายวัยรุ่น [[กามิกาเซ่]]]]
 
=== ย้ายธุรกิจ ===
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 อาร์เอส ได้รับการอนุมัติจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการขอปรับย้ายหมวดธุรกิจ จากหมวดธุรกิจสื่อและสิ่งพิมพ์ มาเป็นหมวดธุรกิจพาณิชย์ โดยยังคงอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการเช่นเดิม เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการดำเนินธุรกิจของบริษัท โดยหลังจากเปลี่ยนกลุ่มมาเป็นกลุ่มธุรกิจพาณิชย์หลายช่องทาง หรือ MPC (Multi-platform Commerce) สร้างรายได้ได้ในสัดส่วนถึง 60% ของรายได้รวมของอาร์เอส<ref>{{cite news|url=https://www.brandbuffet.in.th/2019/03/rs-transform-business-from-media-to-commerce/|title=กรณีศึกษา ‘อาร์เอส’ กับการ Cross Industry ‘ต้องไม่ยึดติดกับความสำเร็จเดิม’ เพราะส่งที่ใช่ ไม่จำเป็นต้องใช่เสมอไป|work=แบรนด์บุฟเฟต์|date=25 มีนาคม 2562|access-date=2 กันยายน 2562}}</ref> ในเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน [[บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์]] เข้าถือหุ้นอาร์เอส จำนวน 68 ล้านหุ้น (หรือประมาณ 7%) เพื่อเชื่อมโยงฐานข้อมูลลูกค้า<ref>{{cite news|url=https://mgronline.com/business/detail/9620000079804|title=BTS ทุ่มพันล้านซื้อหุ้น RS 7% ขยายฐานต่อยอดธุรกิจใหม่|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=20 สิงหาคม 2562|access-date=2 กันยายน 2562}}</ref>
 
=== ปรับภาพลักษณ์องค์กร ===
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 อาร์เอสได้ย้ายสำนักงานจากอาคารเชษฐโชติศักดิ์ ซอยลาดพร้าว 15 มาอยู่ที่ อาคารอาร์เอส กรุ๊ป [[ถนนประเสริฐมนูกิจ]] แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 อาร์เอสได้ย้ายสำนักงานใหญ่ไปที่จากอาคารเชษฐโชติศักดิ์ RSซอยลาดพร้าว GROUP15 Buildingมาอยู่ที่ [[อาคารกลุ่มอาร์เอส]] บน[[ถนนประเสริฐมนูกิจ]] แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีพื้นที่รวมกว่า 62,845 ตารางเมตร แบ่งเป็น 3 อาคารหลัก และ 1 อาคารจอดรถ มีการออกแบบสไตล์ Congregations Rhythm และออกแบบให้ Façade [[ด้านหน้าอาคาร]]ของทั้ง 4 อาคารให้มีความต่อเนื่องกัน รวมเป็นกลุ่มอาคาร ซึ่งมีพื้นที่ของส่วนงาน Production งานการผลิตของ[[ช่อง 8]] ที่มีห้องถ่ายทอดรายการข่าว และห้องอัดเสียง รวมทั้งห้องจัดรายการสำหรับคลื่นวิทยุ[[คูลฟาเรนไฮต์ COOLfahrenheit93]] และยังมี ROSE Hall"โรสฮอลล์" หรือพื้นที่จัดกิจกรรมที่สามารถรองรับได้ถึง 400 – 600 คน ไว้รองรับการจัดอีเวนต์หรือกิจกรรมได้อย่างหลากหลายรูปแบบ
 
=== สำนักงานใหญ่แห่งใหม่ ===
อาร์เอสได้ย้ายสำนักงานใหญ่ไปที่ RS GROUP Building บนถนนประเสริฐมนูกิจซึ่งมีพื้นที่รวมกว่า 62,845 ตารางเมตร แบ่งเป็น 3 อาคารหลักและ 1 อาคารจอดรถ มีการออกแบบสไตล์ Congregations Rhythm และออกแบบให้ Façade ของทั้ง 4 อาคารให้มีความต่อเนื่องกัน รวมเป็นกลุ่มอาคาร ซึ่งมีพื้นที่ของส่วนงาน Production ของช่อง 8 ที่มีห้องถ่ายทอดรายการข่าว และห้องอัดเสียง รวมทั้งห้องจัดรายการสำหรับคลื่นวิทยุ COOLfahrenheit และยังมี ROSE Hall หรือพื้นที่จัดกิจกรรมที่สามารถรองรับได้ถึง 400 – 600 คน ไว้รองรับการจัดอีเวนต์หรือกิจกรรมได้อย่างหลากหลายรูปแบบ
 
ในปี พ.ศ. 2563หลังจากย้ายตึกแล้ว อาร์เอส ได้มีการ Rebrandingปรับภาพลักษณ์องค์กร และเปลี่ยนสัญลักษณ์บริษัทใหม่ จาก [[สีฟ้า]]ที่ดูคล้ายหยดน้ำ เป็นตัวอักษรทรงโค้งมนในสไตล์มินิมอล ซึ่งสื่อถึงองค์กรไร้กรอบและข้อจำกัดใด ๆ ในการสร้างสรรค์ผลงานและการทำธุรกิจยุคที่มีการ Disruption อยู่ตลอดเวลา และพร้อมไปได้ทุกที่ ทุกสถานะ ในส่วนของสีคือไม่มีสี หมายถึงไม่ยึดติดอยู่กับสีใดสีหนึ่ง เพราะหากเราเปรียบแต่ละธุรกิจของ RS เป็นเหมือนสี สีเหล่านั้นก็จะสามารถผสมกันได้อย่างกลมกลืน นับเป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่างจากบริษัทอื่นๆ ที่มีการกำหนดสีที่ชัดเจน
=== โลโก้ปัจจุบัน ===
ในปี พ.ศ. 2563 อาร์เอส ได้มีการ Rebranding และเปลี่ยนสัญลักษณ์บริษัทใหม่จาก สีฟ้าที่ดูคล้ายหยดน้ำ เป็นตัวอักษรทรงโค้งมนในสไตล์มินิมอล ซึ่งสื่อถึงองค์กรไร้กรอบและข้อจำกัดใด ๆ ในการสร้างสรรค์ผลงานและการทำธุรกิจยุคที่มีการ Disruption อยู่ตลอดเวลา และพร้อมไปได้ทุกที่ ทุกสถานะ ในส่วนของสีคือไม่มีสี หมายถึงไม่ยึดติดอยู่กับสีใดสีหนึ่ง เพราะหากเราเปรียบแต่ละธุรกิจของ RS เป็นเหมือนสี สีเหล่านั้นก็จะสามารถผสมกันได้อย่างกลมกลืน นับเป็นอัตลักษณ์ที่แตกต่างจากบริษัทอื่นๆ ที่มีการกำหนดสีที่ชัดเจน
 
รูปทรงและความโค้งมนของตัวอักษร R และ S ถูกนำมาปรับใช้เพื่อแสดงออกถึงความพริ้วไหว และขับเคลื่อนไปสู่ความก้าวหน้า ทั้งยังสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ มีความทันสมัย แต่ในขณะเดียวกันก็ยังดูเป็นมิตรและเข้าถึงได้ง่าย
เส้น 71 ⟶ 66:
จากข้อมูลในรายงานประจำปี พ.ศ. 2561 บริษัทอาร์เอสมีบริษัทย่อยดังนี้<ref name="รายงานประจำปี 2561">{{cite news|url=http://www.set.or.th/dat/annual//A0705T18.zip|title=รายงานประจำปี 2561|access-date=2 กันยายน 2562}}</ref>
* บริษัท ไลฟ์สตาร์ จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ดำเนินธุรกิจจำหน่ายผลิตภัณฑ์ตามช่องทางค้าปลีกต่าง ๆ
* บริษัท อาร์เอส เทเลวิชั่น จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ดำเนินธุรกิจให้บริการสื่อโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล คือ[[ช่อง 8]]
* บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ดำเนินธุรกิจจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์
* บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ดำเนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์
เส้น 83 ⟶ 78:
 
===ธุรกิจเพลง===
[[ไฟล์:Thai band FFK 2.jpg|thumb|[[เฟย์ ฟาง แก้ว]] ศิลปินเบอร์แรกของค่ายวัยรุ่น [[กามิกาเซ่]]]]
ปัจจุบันธุรกิจเพลงของอาร์เอส มีรายได้จากการบริหารงานให้แก่ศิลปิน ลิขสิทธิ์ ศิลปินเป็นพรีเซนเตอร์ให้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆ  และดิจิทัลมิวสิกมีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์เพลงในรูปแบบต่าง ๆ ผ่านทางระบบดิจิทัล ทั้งการฟังเพลงในรูปแบบออนไลน์สตรีมมิง อาทิ [[จูกซ์]] [[สปอติฟาย]] เเป็นต้น รวมถึงการฟังเพลงดูมิวสิกวิดีโอผ่าน ยูทูบ ไลน์ทีวี หรือให้บริการดาวน์โหลดเพลง ดาวน์โหลดเสียงเรียกเข้าผ่านโทรศัพท์ เสียงรอสายผ่านเครือข่ายของระบบุโทรศัพท์เคลื่อนที่ ดาวน์โหลดเพลงผ่านช่องทางอย่าง ไอจูนส์ หรือผ่านเครือข่ายของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (WAP) บริษัทยังมีรายได้จากการจัดเก็บลิขสิทธิ์เพลง ภายใต้บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จำกัด ค่ายเพลงในปี 2562 ของอาร์เอส คือ [[อาร์สยาม]]<ref name="marketingoops">{{cite news|url=https://www.marketingoops.com/exclusive/business-case/rs-transformation/|title=กาลครั้งหนึ่ง RS เบอร์ 2 ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่เมืองไทย กับวันนี้สู่ “ธุรกิจ คอมเมิร์ซ”|work=marketingoops|date=18 มีนาคม 2562|access-date=2 กันยายน 2562}}</ref> และในปี 2563 อาร์เอสเตรียมเปิดค่ายเพลงเพิ่ม 2 ค่ายได้แก่ [[กามิกาเซ่]] และ [[โรสซาวด์]]<ref name="RS GROUP">{{cite news|url=https://www.facebook.com/RSGROUPOFFICIAL/photos/pcb.2578487889105837/2578487479105878/?type=3&theater|title=ค่ายเพลงในตำนานอย่าง Kamikaze ผู้ปฏิวัติวงการเพลงสำหรับคนรุ่นใหม่ที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการเพลงไทย และได้ก้าวเข้าสู่จุดสูงสุดของวงการเพลงป๊อปที่สร้างวัฒนธรรมอันมีอัตตลักษณ์ และเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่อย่างแท้จริง และค่ายเพลงคลาสสิคอย่าง Rose Sound ที่สุดของเพลงป๊อปชื่อดังระดับตำนาน ที่เป็นต้นแบบแห่งวงการเพลงป๊อปในปัจจุบันของเมืองไทย กำลังจะกลับมาสร้างปรากฏการณ์ครั้งใหม่ให้กับผู้ฟัง|work=RS GROUP|date=23 เมษายน 2563|access-date=8 พฤษภาคม 2563}}</ref><ref name="RS GROUP PAGE">{{cite news|url=https://www.facebook.com/RSGROUPOFFICIAL/photos/a.1424413701179934/2606316309656328/?type=3&theater|title=สาวกค่าย RSiam, แฟนป๊อปค่าย Kamikaze หรือโตมากับ Rose Sound เตรียมพบกันหลังวิกฤติโควิด-19 คลี่คลาย|work=RS GROUP|date=27 พฤษภาคม 2563|access-date=27 พฤษภาคม 2563}}</ref>