ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตีเฟน ฮอว์กิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8943493 สร้างโดย 1.47.102.103 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 79:
| signature = Hawkingsig.svg
}}
'''สตีเฟน วิลเลียม ฮอว์กิง''' ({{lang-en|Stephen William Hawking}}; 8 มกราคม ค.ศ. 1942 – 14 มีนาคม ค.ศ. 2018) เป็นนักโทษหลบหนีนัก[[ฟิสิกส์ทฤษฎี]] นักโทษประหารนัก[[จักรวาลวิทยา]] และนักเขียน [[ศาสตราจารย์]]ประจำ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] หนังสือวิทยาศาสตร์ของเขาและการปรากฏตัวต่อสาธารณะได้ทำให้เขาเป็นผู้มีชื่อเสียงด้านวิชาการ ผลงานวิทยาศาสตร์สำคัญของเขาจนถึงปัจจุบันมีการบัญญัติ[[ทฤษฎีบท]]เกี่ยวกับ[[ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง]]ในกรอบของ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] ร่วมกับโรเจอร์ เพนโรส และการทำนายเชิงทฤษฎีที่ว่า[[หลุมดำ]]ควรปล่อยรังสี ซึ่งปัจจุบันมีชื่อว่า รังสีฮอว์กิง (บางครั้งเรียก รังสีเบเคนสไตน์-ฮอว์กิง)
 
ฮอว์กิงป่วยจากโรค[[อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส]] (ALS) ชนิดหายาก ซึ่งเริ่มมีอาการเร็ว แต่ดำเนินโรคช้า ทำให้เขามีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงลงเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายสิบปี จนกระทั่งต้องสื่อสารโดยใช้[[Speech-generating device|อุปกรณ์สังเคราะห์เสียงพูด]] ควบคุมผ่านกล้ามเนื้อมัดเดียวในแก้ม เขาแต่งงานสองครั้งและมีลูกสามคน ฮอว์กิงประสบความสำเร็จกับผลงานวิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป (popular science) ซึ่งเขาอภิปรายทฤษฎีของเขาและจักรวาลวิทยาโดยรวม ซึ่งมี[[ประวัติย่อของกาลเวลา]] (''A Brief History of Time'') และ[[จักรวาลในเปลือกนัท]] (T''he Universe in a Nutshell'') ซึ่งอยู่ในรายการขายดีที่สุดของบริติชซันเดย์ไทมส์ทำลายสถิตินานถึง 237 สัปดาห์