ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 56:
}}
[[ไฟล์:Waithayakon2.jpg|thumb|พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]]
ศาสตราจารย์ พลตรี '''พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์''' (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีต[[รองนายกรัฐมนตรี]] อดีต[[สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ|ประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ]] และอดีตนายก[[ราชบัณฑิตยสถาน]] รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนา[[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2519 สิริพระชันษา 85 ปี
 
== พระประวัติและการศึกษา ==
พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ มีพระนามเดิมว่า '''หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ''' หรือ ''พระองค์วรรณ'' เป็นพระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] และ หม่อมหลวงต่วนศรี (มนตรีกุล) วรวรรณ
 
หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร ทรงเริ่มศึกษาที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] และย้ายมาที่[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]]สมัยบ้านสมเด็จเจ้าพระยาในปี พ.ศ. 2442 ต่อมาเมื่อเกิดโรคระบาด โรงเรียนปิดชั่วคราว จึงย้ายไปเรียน[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] 1 ปี (ที่จริงคือตามไปใช้สถานที่เรียน) ต่อมาเมื่อ[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] สมัยสายสาวลี เปิดทำการจึงย้ายมาศึกษาต่อ และสอบได้ทุน King's scholarship ได้เดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ โดยเข้าอยู่ประจำที่ 'วิทยาลัยแบเลียล' (Balliol College) [[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]] [[ประเทศอังกฤษ]] และสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีในระดับเกียรตินิยมและปริญญาโท จากคณะบูรพคดีศึกษา (Oriental Studies) สาขาวิชา[[ภาษาบาลี]]และ[[ภาษาสันสกฤต]] ที่สถาบันตะวันออก [[มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด]] ท่านจึงมีความสามารถในการบัญญัติศัพท์ กระทั่งเป็นผู้วางกฎเกณฑ์การบัญญัติศัพท์โดยใช้คำบาลีและสันสกฤตให้[[ราชบัณฑิตยสถาน]] และใช้มาจนกระทั่งทุกวันนี้
 
มีคำศัพท์มากมายที่ทรงบัญญัติและยังคงใช้อยู่ในปัจจุบันเช่น
บรรทัด 72:
== เสกสมรส ==
พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าพิบูลเบญจางค์ กิติยากร]] พระธิดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ]] กับ[[หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร]] มีบุตร คือ
# หม่อมราชวงศ์[[วิบูลย์เกียรติ วรวรรณ]] สมรสกับหม่อมราชวงศ์หญิง[[ทิพพากร อาภากร]]
## หม่อมหลวงเกียรติกร วรวรรณ
## หม่อมหลวงสุทธิ์ธรทิพย์ วรวรรณ
และต่อมาพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ สมรสอีกครั้งกับหม่อมพร้อยสุพิณ (บุนนาค) วรวรรณ มีธิดา คือ
* [[ท่านผู้หญิงวิวรรณ เศรษฐบุตร]] ''(หม่อมราชวงศ์หญิงวิวรรณ วรวรรณ)''
 
== พระอิสริยยศ ==
บรรทัด 85:
 
== ลำดับตำแหน่งหน้าที่การงาน ==
* พ.ศ. 2460 - เลขานุการตรี ประจำสถานทูตไทย ณ กรุงปารีส และเลขานุการคณะทูตไทย ที่ประชุมสันติภาพ ภายหลังมหาสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
* พ.ศ. 2463 - หัวหน้ากองบัญชาการ กระทรวงการต่างประเทศ
* พ.ศ. 2465 - [[องคมนตรี]] ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
บรรทัด 92:
* พ.ศ. 2473 - ศาสตราจารย์ประจำ[[คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ ศาสตราจารย์ประจำ[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>http://www.royin.go.th/?parties=%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD-%E0%B8%81</ref><ref>http://www.komchadluek.net/news/politic/107028</ref><ref>http://cwweb2.tu.ac.th/emc/ShelfTU/@tubookshelf3/pdf/5_wanwitayakorn.pdf</ref>
* พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2490 - นายก[[ราชบัณฑิตยสถาน]]
* พ.ศ. 2484 - หัวหน้าคณะผู้แทนเจรจาสันติภาพฝ่ายไทยใน[[กรณีพิพาทอินโดจีน]]
* พ.ศ. 2486 - นายกสมาคม[[ราชวิทยาลัย]] เป็นสมาคมนักเรียนเก่าของ[[โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] (เดิมคือ[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]])
* พ.ศ. 2489 - นายกสมาคมนิสิตเก่า[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นพระองค์แรก
* พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2501 - รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/033/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๐ ราย)] เล่ม 74 ตอน 33ก วันที่ 1 เมษายน 2500</ref><ref>[http://www.cabinet.thaigov.go.th/cab_26.htm คณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]</ref>
บรรทัด 99:
* พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2500 - ประธานสมัชชา[[สหประชาชาติ]] สมัยประชุมที่ 11
* พ.ศ. 2501 - ประธานราชวิทยาลัยมูลนิธิเพื่อการศึกษา เป็นองค์กรที่ฟื้นฟูและก่อตั้ง[[โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]ในปัจจุบัน(เดิมคือ[[โรงเรียนราชวิทยาลัย]])
* พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2513 - [[รองนายกรัฐมนตรี]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/A/119/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๙ ราย)]</ref>
* พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2514 - อธิการบดี[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 2516 - นายก[[ราชบัณฑิตยสถาน]]
* พ.ศ. 2516 - ประธาน[[สมัชชาแห่งชาติ]]
 
== พระเกียรติคุณ ==