ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญชัยสมรภูมิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงอ้างอิง
บรรทัด 2:
| ชื่อไทย = เหรียญชัยสมรภูมิ
| ชื่อในภาษาแม่ =
| ภาพ = [[ไฟล์:Thai medals - Victory Medal - Indochina.jpg|200px]]
| ขนาดภาพ = 200px
| อักษรย่อ = ช.ส.
| ประเทศ = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
เส้น 12 ⟶ 13:
| ประธาน = พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย
| ผู้สมควรได้รับ = บุคคลผู้ที่กระทำการรบ
| ความชอบมอบเพื่อ = ทหาร ตำรวจ และผู้กระทำหน้าที่อย่างทหารหรือตำรวจ บรรดาที่ได้รับคำสั่งจากหน่วยทหารหรือตำรวจให้ไปกระทำการรบและได้เคลื่อนที่ไปแล้ว
| จำนวนสำรับ = ไม่จำกัด
| รายแรก =
เส้น 23 ⟶ 24:
| หมายเหตุ =
}}
'''เหรียญชัยสมรภูมิ''' เป็นเหรียญที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2484 ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] ใช้อักษรย่อว่า ช.ส. โดยสร้างตามพระราชกำหนดเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช 2484<ref>{{Cite web|url=http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%CB21/%CB21-20-9999-update.htm |title=พระราชกำหนดเหรียญชัยสมรภูมิพุทธศักราช ๒๔๘๔ |via=krisdika.go.th |publisher=ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๘ หน้า ๑๖๓ |date=๔ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๔}}</ref> เพื่อพระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ หรือผู้ที่กระทำหน้าที่อย่างทหารหรือตำรวจ ที่ได้รับคำสั่งจากหน่วยทหารหรือตำรวจให้ไปทำการรบ และได้เคลื่อนที่ไปปฏิบัติการแล้วการพระราชทานกรรมสิทธิกรรมสิทธิ์และการเรียกคืนเช่นเดียวกับเหรียญกล้าหาญ เหรียญนี้ไม่มีประกาศนียบัตร แต่ประกาศนามผู้ได้รับพระราชทานในราชกิจจานุเบกษา
 
== ลักษณะของเหรียญ ==
เหรียญชัยสมรภูมิ มีลักษณะเป็นเหรียญโลหะกลม ด้านหน้ามีพระบรมรูป[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]กำลังทรงกระทำยุทธหัตถีกับราชศัตรู มีอักษรจารึกว่า “สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กู้ชาติ” ด้านหลังมีอักษรจารึกว่า “เรารบเพื่อเกียรติศักดิ์ไทย” ตัวเหรียญห้อยกับแพรแถบสีแดง กว้าง 3.5 เซนติเมตร มีริ้วสีขาวใกล้ขอบทั้งสองข้าง ข้างบนมีเข็มโลหะรูป[[คทาจอมพล]]จารึกอักษรว่า “ชัยสมรภูมิ” หรือกับแพรแถบสี ขนาด และลักษณะอื่นตามที่จะได้กำหนดไว้โดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำการรบกับราชศัตรูในการรบเฉพาะคราว ใช้ประดับที่หน้าอกเสื้อเบื้องซ้าย
 
ถ้าผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิได้กระทำการจนได้รับความชมเชยจากทางราชการ หรือกระทำความชอบมีบาดเจ็บ จะได้รับพระราชทานเครื่องหมายทำด้วยโลหะสีทองเป็นรูปขีดประกอบด้วยเปลวระเบิดสำหรับติดที่แพรแถบทุกครั้ง และถ้าผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิได้ประกอบวีรกรรม แต่ยังไม่ถึงขั้นที่จะได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญ จะได้รับพระราชทานเครื่องหมายทำด้วยโลหะสีทองเป็นรูป[[ช่อชัยพฤกษ์]]ช่อเดียวสำหรับติดที่แพรแถบทุกครั้ง
 
== แพรแถบของเหรียญ ==
แพรแถบของเหรียญจำแนกตามคราวที่มีการส่งทหาร ตำรวจ หรือผู้ที่กระทำหน้าที่อย่างทหารหรือตำรวจ เข้าปฏิบัติการในสงครามและการรบครั้งต่างๆต่าง ๆ ดังนี้
 
# เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน
เส้น 52 ⟶ 53:
''"ตัวเหรียญห้อยกับแพรแถบสีแดง กว้าง 3.5 เซนติเมตร มีริ้วสีขาวใกล้ขอบทั้งสองข้าง ข้างบนมีเข็มโลหะรูปคทาจอมพลจารึกอักษรว่า “ชัยสมรภูมิ”"''
 
ต่อมาจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช 2484 (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 โดยเพิ่มข้อความในข้างท้ายมาตรา 4 แห่งพระราชกำหนดเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช 2484 ว่า ''"หรือกับแพรแถบสี ขนาด และลักษณะอื่นตามที่จะได้กำหนดไว้โดยพระราชกฤษฎีกา สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำการรบกับราชศัตรูในการรบเฉพาะคราว"'' เพื่อให้สามารถกำหนดลักษณะแพรแถบสำหรับการรบครั้งอื่นๆอื่น ๆ เพิ่มเติมได้<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/067/1915.PDF |title=พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช ๒๔๘๔ (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๕ |publisher=ราชกิจจานุเบกสา เล่ม ๕๙ ตอนที่ ๖๗ หน้า ๑๙๑๕-๑๕๑๗ |date=๒๐ ตุลาคม ๒๔๘๕}}</ref>
 
===กรณี[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]]===
เส้น 64 ⟶ 65:
แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา ได้กำหนดลักษณะครั้งแรกไว้ใน มาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช 2485 ดังนี้
 
''"แพรแถบเหรียนชัยสมรภูมิสำหรับพระราชทานแก่ผู้กะทำการรบกับราชสัตรู ไนคราวที่ประเทสไทยกะทำสงครามกับสหรัถอเมริกาและบริเตนไหย่นั้น ไห้เปนสีเขียว ขนาดกว้าง 3.5 เซนติเมตร มีริ้วสีแดงที่ขอบ และถัดริ้วสีแดงเข้าไปเปนริ้วสีขาวทั้งสองข้าง ด้านบนแพรแถบมีเข็มโลหะรูปคทาจอมพลจารึกอักสรว่า "ชัยสมรภูมิ""''<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2485/A/071/2228.PDF |title=พระราชกริสดีกา ว่าด้วยแพรแถบเหรียนชัยสมรภูมิ พุทธสักราช 2485 |publisher=ราชกิจจานุเบกสา เล่ม 59 ตอนที่ 71 หน้า 2228-2230 |date=10 พฤศจิกายน 2485}}</ref>
 
แพรแถบนี้ได้มีการยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ. 2488 ตามพระราชกฤษฎีกายกเลิกแห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช 2485 พุทธศักราช 2488<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/051/531.PDF |title=พระราชกฤษฎีกา ยกเลิกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พุทธศักราช ๒๔๘๕ พุทธศักราช ๒๔๘๘ |publisher=ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๒ ตอนที่ ๕๑ หน้า ๕๓๑-๕๓๒ |date=๑๘ กันยายน ๒๔๘๘}}</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2502 จึงมีการตรากฎหมายเพื่อรับรองฐานะของแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิสงครามมหาเอเชียบูรพาอีกครั้ง โดยมีลักษณะตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. 2502 ดังนี้
 
''"แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิสำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำการรบในคราวสงครามมหาอาเซียบูรพานั้น ให้เป็นสีเขียว ขนาดกว้าง 3.5 เซนติเมตร มีริ้วสีแดงที่ขอบ และถัดริ้วสีแดงเข้าไปเป็นริ้วสีขาวทั้งสองข้าง ด้านบนแพรแถบมีเข็มโลหะรูปคทาจอมพลจารึกอักษรว่า "ชัยสมรภูมิ""''<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/A/076/302.PDF |title=พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. ๒๕๐๒ |publisher=ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๗๖ หน้า ๓๐๒-๓๐๔ |date=๔ สิงหาคม ๒๕๐๒}}</ref>
 
===กรณี[[สงครามเกาหลี|การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี]]===
เส้น 80 ⟶ 81:
แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี กำหนดลักษณะไว้ตามตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. 2494 ดังนี้
 
''"แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิสำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำการร่วมรบกับสหประชาชาตินั้น ให้เป็นสีฟ้า ขนาดกว้าง 3.5 เซนติเมตร และถัดริ้วสีฟ้าเข้าไปเป็นริ้วสีขาวทั้งสองข้าง ด้านบนแพรแถบมีเข็มโลหะรูปคทาจอมพลจารึกอักษรว่า "ชัยสมรภูมิ""''<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/007/33.PDF |title=พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. ๒๔๙๔ |publisher=ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๖๘ ตอนที่ ๗ หน้า ๓๓-๓๕ |date=๒๓ มกราคม ๒๔๙๔}}</ref>
 
===กรณี[[สงครามเวียดนาม|การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม]]===
เส้น 92 ⟶ 93:
แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม กำหนดลักษณะไว้ตามตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. 2510 ดังนี้
 
''"แพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิสำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำการรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนามนั้น ให้เป็นสีเหลือง ขนาดกว้าง 3.5 เซนติเมตร มีริ้วสีแดงที่ขอบ และถัดริ้วสีแดงเข้าไปเป็นริ้วสีขาวทั้งสองข้าง ด้านบนแพรแถบมีเข็มโลหะรูปคทาจอมพลจารึกอักษรว่า "ชัยสมรภูมิ""''<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2510/A/129/74.PDF |title=พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ พ.ศ. ๒๕๑๐ |publisher=ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๑๒๙ ฉบับพิเศษ หน้า ๗๔-๗๖ |date=๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๐}}</ref>
 
== ผู้ได้รับพระราชทาน ==
เส้น 115 ⟶ 116:
* พลเอก[[บุญชัย บำรุงพงศ์]] - เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน, เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา
* พลเอก[[สัมพันธ์ บุญญานันต์]] - เหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม
* พลเอก[[ประภาส จารุเสถียร]] - เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน, เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา<!--
*เฉลียว ยางงาม กาญจนวงศ์พานิช - เหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม (ประดับเปลวระเบิด)
*พเยาว์ เกิดโชค - เหรียญชัยสมรภูมิ การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี
*พิชัย มณีเปรี่ยมแสง - เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา
-->
 
==ระเบียงภาพ==
<gallery widths="150" heights="300" perrow="3">
ไฟล์:Thai medals - Victory Medal - Indochina.jpg|เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน
ไฟล์:Thai medals - Victory Medal - World War II.jpg|เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา