ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูล
บรรทัด 59:
{{cite journal | url = http://www.who.int/wer/2005/wer8033.pdf | title = Influenza vaccines: WHO position paper | journal = Weekly Epidemiological Record (WER) | date = 2005-08-19 | volume = 80 | issue = 33 | pages = 277-88 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20051222120000/http://www.who.int/wer/2005/wer8033.pdf | archivedate = 2005-12-22 | deadurl = no}}</ref>
และแก่เป็ดไก่ที่เลี้ยงในฟาร์ม<ref>
{{cite journal | author = Villegas, P | title = Viral diseases of the respiratory system | journal = Poultry Science | volume = 77 | issue = 8 | pages = 1143-45 | date = August 1998 | pmid = 9706079 | doi = 10.1093/ps/77.8.1143 | accessdate = 2009-11-04 | ref = harv }}</ref>
วัคซีนมนุษย์ที่สามัญสุดเป็นประเภท trivalent influenza vaccine ซึ่งมีวัสดุกำจัดฤทธิ์แล้วทำให้บริสุทธิ์จากไวรัสสามสายพันธุ์
ปกติจะเป็นไวรัสไข้หวัดใหญ่{{nowrap |กลุ่ม A}} 2 ชนิด และ{{nowrap |กลุ่ม B}} 1 ชนิด<ref>{{cite journal | last1 = Horwood | first1 = F | last2 = Macfarlane | first2 = J | title = Pneumococcal and influenza vaccination: current situation and future prospects | journal = Thorax | volume = 57 Suppl 2 | pages = II24-30 | year = 2002 | pmid = 12364707 | pmc = 1766003}}</ref>
บรรทัด 143:
 
== เหตุการณ์ไข้หวัดใหญ่ระบาดทั่ว ==
หนังสือปี 1921 ระบุเหตุการณ์ไข้หวัดใหญ่ระบาดทั่ว 9 เหตุการณ์ก่อนไข้หวัดใหญ่ปี 1889-90 โดยระบุเหตุการณ์แรกในปี 1510<ref name="amflu">{{cite book | last1 = Mouritz | first1 = A. | title = 'The Flu' A Brief World History of Influenza | date = 1921 | publisher = Advertiser Publishing Co., Ltd. | location = Honolulu | url = http://www.gutenberg.org/ebooks/61607 | accessdate = 2020-04-06 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200406221722/http://www.gutenberg.org/ebooks/61607 | archivedate = 2020-04-06 | deadurl = no}}</ref>
ส่วนแหล่งอ้างอิงปี 2006 อ้างว่ามี 6 เหตุการณ์<ref>{{cite journal | last1 = Potter | first1 = CW | title = A History of Influenza | journal = J Appl Microbiol | date = October 2006 | volume = 91 | issue = 4 | pages = 572-79 | pmid = 11576290 | doi = 10.1046/j.1365-2672.2001.01492.x}}</ref>
{{การระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่ที่เด่น}} <!-- ต้องไม่มีบรรทัดว่างก่อนหน้านี้ -->
บรรทัด 352:
อนึ่ง ได้ให้รายละเอียดระยะหลังคลื่นโรคระบาดทั่วระลอกแรกเพื่ออำนวยการทำกิจเพื่อฟื้นสภาพ
 
แต่ในเดือนกุมภาพันธ์ 2020 โฆษกขององค์การอนามัยโลกได้อธิบายว่า องค์การไม่ได้ใช้แบบจำลอง 6 ระยะนี้อีกต่อไป "เพื่อให้ชัดเจน องค์การอนามัยโลกไม่ได้ใช้ระบบมีระยะ 6 ระยะดั้งเดิม ที่เริ่มจากระยะ 1 (ไม่มีรายงานว่าไข้หวัดใหญ่ในสัตว์เป็นเหตุให้คนติดโรค) จนถึงระยะ 6 (การระบาดทั่ว) ที่บางคนอาจจะคุ้นเคยเพราะการติดเชื้อ H1N1 ในปี 2009"<ref>{{Cite news | url = https://www.reuters.com/article/uk-china-health-who-idUKKCN20I0PD | title = WHO says it no longer uses 'pandemic' category, but virus still emergency | date = 2020-02-24 | work = Reuters | access-date = 2020-02-29 | language = en | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200620183841/https://www.reuters.com/article/uk-china-health-who-idUKKCN20I0PD | archivedate = 2020-06-20 | deadurl = no}}</ref>
 
เพื่อเป็นที่อ้างอิง ระยะที่ว่ามีนิยามดังต่อไปนี้ คือ<ref>{{cite news | title = Current WHO phase of pandemic alert | url = http://www.who.int/csr/disease/avian_influenza/phase/en/ | publisher = WHO}}</ref>{{Dead link | date = July 2020 | fix-attempted = yes }}
 
ตามธรรมชาติแล้ว ไวรัสไข้หวัดใหญ่มีวนเวียนอยู่ในสัตว์โดยเฉพาะนก
บรรทัด 392:
ช่วงการเกิดไข้หวัดใหญ่ตาม Pandemic Intervals Framework ของศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคสหรัฐ ({{abbr |CDC| Centers for Disease Control and Prevention }})
]]
ในปี 2014 ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคสหรัฐ ({{abbr |CDC| Centers for Disease Control and Prevention }}) ได้เสนอแผนงานคล้ายกับระยะโรคระบาดทั่วขององค์การอนามัยโลกที่เรียกว่า Pandemic Intervals Framework (โครงร่างช่วงโรคระบาดทั่ว)<ref name="Holloway2014">{{Cite journal | last = Holloway | first = Rachel | last2 = Rasmussen | first2 = Sonja A. | last3 = Zaza | first3 = Stephanie | last4 = Cox | first4 = Nancy J. | last5 = Jernigan | first5 = Daniel B. | date = 2014-09-26 | title = Updated Preparedness and Response Framework for Influenza Pandemics | journal = Morbidity and Mortality Weekly Report | volume = 63 | issue = RR-6 | pages = 1-18 | publisher = Center for Surveillance, Epidemiology, and Laboratory Services, Centers for Disease Control and Prevention | issn = 1057-5987 | url = https://www.cdc.gov/flu/pandemic-resources/pdf/mmwr-rr6306.pdf | accessdate = 2020-05-10 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20161219230710/https://www.cdc.gov/flu/pandemic-resources/pdf/mmwr-rr6306.pdf | archivedate = 2016-12-19 | deadurl = no}}</ref> ซึ่งมีช่วงก่อนการระบาดทั่ว 2 ระยะ คือ{{Div col | colwidth = 25em}}
* การตรวจสอบ
* การยอมรับ/การรู้จักว่าการระบาดทั่วได้เกิดแล้ว{{Div col end}}
บรรทัด 422:
}}
ในปี 2014 ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคสหรัฐ ({{abbr |CDC| Centers for Disease Control and Prevention }}) ได้เริ่มใช้แผน Pandemic Severity Assessment Framework (PSAF) เพื่อประเมินความรุนแรงของโรคระบาดทั่ว<ref name="Holloway2014" />
PSAF ใช้แทนที่ดัชนีความรุนแรงโรคระบาดทั่ว ({{abbr |PSI| Pandemic Severity Index }}) ของสหรัฐซึ่งเป็นแบบจำลองเชิงเส้น, สมมุติว่าโรคระบาดในอัตราร้อยละ 30 และวัดค่าอัตราตายของผู้ป่วยรายโรค ({{abbr |CFR| case fatality rate}}){{Efn-ua | name = CFR}} เพื่อประเมินความรุนแรงและวิถีการดำเนินของโรคระบาดทั่ว<ref name="Qualls2017">{{Cite journal | last1 = Qualls | first1 = Noreen | last2 = Levitt | first2 = Alexandra | last3 = Kanade | first3 = Neha | last4 = Wright-Jegede | first4 = Narue | last5 = Dopson | first5 = Stephanie | last6 = Biggerstaff | first6 = Matthew | last7 = Reed | first7 = Carrie | last8 = Uzicanin | first8 = Amra | date = 2017-04-21 | title = Community Mitigation Guidelines to Prevent Pandemic Influenza — United States, 2017 | journal = Morbidity and Mortality Weekly Report | volume = 66 | issue = RR-1 | pages = 1-34 | publisher = Center for Surveillance, Epidemiology, and Laboratory Services, Centers for Disease Control and Prevention | url = https://www.cdc.gov/mmwr/volumes/66/rr/pdfs/rr6601.pdf | doi = 10.15585/mmwr.rr6601a1 | pmid = 28426646 | issn = 1057-5987 | language = en-us | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170531222033/https://www.cdc.gov/mmwr/volumes/66/rr/pdfs/rr6601.pdf | archivedate = 2017-05-31 | deadurl = no}}</ref>
 
ดั้งเดิมแล้ว ความรุนแรงของโรคระบาดทั่วจะวัดด้วยค่าอัตราตายของผู้ป่วยรายโรค (CFR){{Efn-ua | name = CFR}}<ref name="CDC2007">{{cite book | title = Interim Pre-Pandemic Planning Guidance: Community Strategy for Pandemic Influenza Mitigation in the United State | url = https://www.cdc.gov/flu/pandemic-resources/pdf/community_mitigation-sm.pdf | publisher = Centers for Disease Control and Prevention | page = 9 | date = February 2007 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20161219230924/https://www.cdc.gov/flu/pandemic-resources/pdf/community_mitigation-sm.pdf | archivedate = 2016-12-19 | deadurl = no}}</ref>
ซึ่งอาจไม่ดีพอในช่วงการตอบสนองต่อการระบาดทั่วของโรคเพราะเหตุต่าง ๆ รวมทั้ง<ref name="Reed2013"/>
* จำนวนผู้เสียชีวิตอาจล่าช้าหลังเกิดกรณีโรคเป็นเวลาหลายอาทิตย์ ซึ่งก็จะทำให้ CFR เป็นค่าประเมินน้อยเกิน
บรรทัด 458:
ซึ่งจำเป็นต้องมีวิธีการสื่อสารทางสาธารณสุขที่ดี และมีสมรรถภาพในการติดตามความวิตก ทัศนคติ และพฤติกรรมของประชาชน
ยกตัวอย่างเช่น กระทรวงสาธารณสุขแห่งสหราชอาณาจักรได้พัฒนาชุดคำถาม (Flu TElephone Survey Template, FluTEST) เพื่อใช้สำรวจประชากรทั้งประเทศในช่วงการระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่<ref>{{cite journal | authors = Rubin, GJ; Bakhshi, S; Amlôt, R; Fear, N; Potts, HWW; Michie, S | year = 2014 | title = The design of a survey questionnaire to measure perceptions and behaviour during an influenza pandemic: the Flu TElephone Survey Template (FluTEST) | url = http://www.journalslibrary.nihr.ac.uk/hsdr/volume-2/issue-41 | journal = Health Services & Delivery Research | volume = 2 | pages = 1-126 | doi = 10.3310/hsdr02410 }}</ref>
* '''[[การเว้นระยะห่างทางสังคม]]''' - ถ้าให้[[การเดินทาง|เดินทาง]]น้อยลง ทำงานที่บ้าน หรือปิด[[สถาบันการศึกษา]] ไวรัสก็จะมีโอกาสระบาดน้อยลง งดการอยู่ในที่แออัดถ้าเป็นไปได้ เว้นระยะห่าง (อย่างน้อย {{nowrap |1 [[เมตร]]}}) จากบุคคลที่มีอาการหวัด เช่น ไอหรือจาม<ref name="WHO-What-can-I-do">{{cite web | title = Pandemic (H1N1) 2009: frequently asked questions: What can I do? | publisher = World Health Organization | date = January 2010 | url = httphttps://www.who.int/csr/disease/swineflu/frequently_asked_questions/what/en/index.html | accessdate = 2010-02-28 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20170920002017/http://www.who.int/csr/disease/swineflu/frequently_asked_questions/what/en/ | archivedate = 2017-09-20 | deadurl = no}}</ref> แต่วิธีการนี้ในช่วงโรคระบาดทั่วก็จะมีผลรุนแรงหลายอย่างทางจิตใจ ดังนั้น เกณฑ์การเว้นระยะห่างควรพิจารณาสุขภาพจิตด้วย<ref>{{cite journal | last1 = Douglas | first1 = PK | title = Preparing for pandemic influenza and its aftermath: Mental health issues considered | journal = International Journal of Emergency Mental Health | date = 2009 | volume = 11 | issue = 3 | pages = 137-44 | pmid = 20437844 | ref = ISSN 1522-4821}}</ref>
* '''อนามัยเกี่ยวกับการหายใจ''' - แนะนำให้ประชาชนปิด[[การไอ]][[การจาม]]ของตน ถ้าใช้[[กระดาษทิชชู]] ควรทิ้งอย่างพิถีพิถันและล้างมือทันทีหลังจากนั้น (ดูอนามัยการล้างมือ) ถ้าไม่มีกระดาษทิชชูตอนนั้น ให้ปิดปากด้วยข้อพับของแขนให้ดีที่สุดเท่าที่เป็นไปได้<ref name="WHO-What-can-I-do" />
* '''อนามัยการล้างมือ''' - การล้างมือบ่อย ๆ ด้วย[[สบู่]]และ[[น้ำ]] (หรือด้วยน้ำยาล้างมือที่ทำด้วย[[แอลกอฮอล์]]) เป็นเรื่องสำคัญมาก โดยเฉพาะหลังจากไอหรือจาม หรือหลังจากเจอหรือสัมผัสกับผู้อื่นหรือกับพื้นผิวที่อาจมีเชื้อ (เช่น ราวบันได เครื่องมือเครื่องใช้ที่ใช้ร่วมกันเป็นต้น)<ref>{{cite web | title = Stop Germs, Stay Healthy! | publisher = King County, Washington web site | url = http://www.metrokc.gov/health/stopgerms/index.htm | accessdate = 2006-09-13 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20050205163024/http://www.metrokc.gov/health/stopgerms/index.htm | archivedate = 2005-02-05 | deadurl = yes }}</ref>
* '''อนามัยอื่น ๆ''' - พยายามอย่าแตะ[[ตา]] [[จมูก]] และ[[ปาก]]ให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้<ref name="WHO-What-can-I-do" />
* '''[[หน้ากากอนามัย]]''' - ไม่มีหน้ากากที่กันโรคได้ทั้งหมด แต่ผลิตภัณฑ์ที่ได้หรือเกินมาตรฐาน N95 ตามที่[[องค์การอนามัยโลก]]แนะนำเชื่อว่า ป้องกันได้ดี องค์การแนะนำให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใส่หน้ากากระดับ N95 และให้คนไข้ใส่หน้ากากที่แพทย์พยาบาลใส่ ซึ่งอาจป้องกันสิ่งคัดหลั่งทางลมหายใจไม่ให้กระจายไปในอากาศ<ref name="non-pharm-interven">{{cite web | title = Non-pharmaceutical interventions: their role in reducing transmission and spread | publisher = World Health Organization | date = November 2006 | url = http://www.who.int/csr/disease/avian_influenza/pharmaintervention2005_11_3/en/index.html | accessdate = 2006-09-13 | deadurl = yes | archiveurl = https://web.archive.org/web/20060920002731/http://www.who.int/csr/disease/avian_influenza/pharmaintervention2005_11_3/en/index.html | archivedate = 2006-09-20 }}</ref> หน้ากากทุก ๆ อย่างอาจช่วยเตือนคนใส่ไม่ให้จับหน้าของตนเอง ซึ่งอาจช่วยการติดเชื้อเนื่องด้วยการสัมผัสพื้นผิวที่มีเชื้อ โดยเฉพาะในที่แออัดซึ่งผู้ที่ไอหรือจามไม่สามารถล้างมือของตนได้ แต่หน้ากากก็อาจติดเชื้อเองและต้องจัดการเหมือนขยะติดเชื้อเมื่อถอดออก
* '''การสื่อสารความเสี่ยง''' - เพื่อให้ประชาชนยอมทำตามวิธีการลดการระบาดของโรค การสื่อสารเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติในชุมชน (เช่นบังคับให้คนป่วยหยุดงานอยู่บ้าน ปิดสถาบันการศึกษา) สำหรับเหตุการณ์ไข้หวัดใหญ่ระบาดที่รัฐบาลกลางกำหนดให้ทำ โดยผู้นำชุมชนเป็นผู้กระจายข่าวสารไปไปยังประชาชน ไม่ควรแสดงความมั่นใจหรือความแน่นอนเกินจริงว่า วิธีเหล่านี้มีประสิทธิผลเพียงไร<ref>{{cite book | last = Committee on Modeling Community Containment for Pandemic Influenza | title = Modeling Community Containment for Pandemic Influenza: A Letter Report | page = 47 | publisher = The National Academies Press | date = 2006-12-11 | isbn = 978-0-309-66819-4 | url = http://www.iom.edu/?id=39066 | accessdate = 2009-05-06 | quote = "communications regarding possible community interventions [such as requiring sick people to stay home from work, closing schools] for pandemic influenza that flow from the federal government to communities and from community leaders to the public not overstate the level of confidence or certainty in the effectiveness of these measures."}}</ref>
 
==== ยาต้านไวรัส ====
มียาต้านไวรัสสองกลุ่มที่ใช้รักษาและป้องกันไข้หวัดใหญ่ คือ 1) สารยับยั้งเอนไซม์นูรามินิเดส (neuraminidase inhibitor) เช่น [[โอเซลทามิเวียร์]] (ชื่อการค้าเช่น Tamiflu) และ Zanamivir (ชื่อการค้า Relenza) และ 2) อะดาแมนเทน (adamantane) เช่น [[อะแมนตาดีน]]และ rimantadine
แต่เพราะมีผลข้างเคียงในอัตราสูงและเพราะโอกาสดื้อยา การใช้ยากลุ่มอะดาแมนเทนเพื่อรักษาไข้หวัดใหญ่จึงจำกัด<ref>{{cite web | title = Pandemic Influenza: Use of Antiviral Agents | url = httphttps://www.cidrap.umn.edu/cidrap/contentinfectious-disease-topics/pandemic-influenza/panflu/biofacts/panflu_antiviral.html#overview&1-10 | publisher = Center for Infectious Disease Research and Policy (CIDRAP) | archiveurl = https://web.archive.org/web/20200602055958/https://www.cidrap.umn.edu/infectious-disease-topics/pandemic-influenza#overview&1-10 | archivedate = 2020-06-02 | deadurl = no }}</ref>
 
ประเทศหลายประเทศรวมทั้งองค์การอนามัยโลก กำลังเตรียมสะสมยาต้านไวรัสเพื่อเตรียมรับมือกับโรคระบาดทั่วที่อาจเกิด
บรรทัด 481:
 
==== วัคซีน ====
วัคซีนไม่น่าจะมีเมื่อเกิดโรคระบาดในระยะต้น ๆ<ref>{{cite web | url = https://www.cdc.gov/flu/avian/gen-info/pandemics.htm | title = Information on Avian Influenza | date = 2019-03-21}}</ref>{{Dead link | date = July 2020 | fix-attempted = yes }}
เพราะไม่สามารถพัฒนาวัคซีนกันไวรัสที่ยังไม่มีจริง ๆ
แม้ไวรัสไขหวัดใหญ่นกสายพันธุ์ H5N1 มีโอกาสกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ที่ก่อโรคระบาดทั่ว แต่ไวรัสชนิดอื่น ๆ ก็เช่นกัน