ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแก้วนวรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 33:
โดยเจ้าจอมจันทร์เป็นเจ้าน้องร่วมหม่อมมารดาเพียงองค์เดียว<ref>''สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก'', หน้า 381</ref>
 
เจ้าแก้วได้เลื่อนอิสริยยศตามลำดับ พ.ศ. 2432 เป็น''เจ้าราชภาคิไนย'' พ.ศ. 2436 เป็น''เจ้าสุริยวงษ์''<ref>''สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๑ อักษร ก'', หน้า 382</ref> ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2440 โปรดให้ส่งสัญญาบัตรไปพระราชทานให้เป็น''เจ้าราชวงษ์เมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2440/047/796.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 14, ตอน 47, 20 กุมภาพันธ์ ร.ศ. 116, หน้า 932</ref> จนกระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2447 จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''เจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/050/932_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 21, ตอน 50, 12 มีนาคม ร.ศ. 123, หน้า 932</ref>
 
ครั้น[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]สุรคตเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2452 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งทรงทราบความที่เจ้าดารารัศมี พระราชชายา ถวายบังคมลาไปประทับที่นครเชียงใหม่ก่อนแล้ว จึงมีพระราชดำรัสกับเจ้าดารารัศมีให้เลือกผู้แทนเจ้าอินทวโรรส ที่ว่า