ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิเทศศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seksun 2 (คุย | ส่วนร่วม)
ความหมายของนิเทศศาสตร์
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''นิเทศศาสตร์''' หมายถึงศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปการสื่อสาร มาจากภาษาอังกฤษว่า (Communicaitons Arts) นิเทศศาสตร์ให้ความสำคัญกับการสื่อสารจากองค์ประกอบของการสื่อสาร กล่าวคือ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กรหรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหาสาระที่ผู้ส่งต้องการที่จะกระจายให้ประชาชนได้รับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการที่จะกระจายข่าวสารต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มากกว้างไกลตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง และผู้รับสารหรือกลุ่มป้าหมายจะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการที่จะทำให้ข่าวสารที่ส่งมาไปถึงผู้รับสารได้มากที่สุด
 
นิเทศศาสตร์ ปัจจุบันเปิดสอนในประเทศไทยตั้งแต่ระดับอนุปริญญาจนถึงปริญญาเอก
ปัจจุบันมีการเปิดสอนมีนิเทศศาสตร์ในประเทศไทยตั้งแต่ระดับอนุปริญญาจนถึงปริญญาเอก ทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชน เดิมเคยเป็นสาขาที่มีผู้นิยมเรียนสูงสุด แต่ในปัจจุบันเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจส่งผลต่อบัณฑิตที่สำเร็จจากสาขาวิชานิเทศศาสตร์ และเริ่มมีจำนวนมาก ทำให้บัณฑิตนิเทศศาสตร์ได้ทำงานไม่ตรงตามสาขาได้ทุกคน สาขาวิชานิเทศศาสตร์จึงลดความนิยมลงไป แต่ก็ยังเป็นที่นิยมของนักเรียน นักศึกษาที่ต้องการศึกษาอยู่เป็นจำนวนมาก
 
==นิเทศศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ==
สาขานิเทศศาสตร์เปิดสอนในมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส่วนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใช้ชือคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยทักษิณ [นิเทศศาสตร์]มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏเกือบทุกแห่งก็เปิดสอนสาขาวิชานิเทศศาสตร์ สำหรับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือปริญญาโท มีเปิดสอนคือ จุฬาฯ ธรรมศาสตร์ รามคำแหง สุโขทัยธรรมาธิราช เชียงใหม่ แม่โจ้ และมหาวิทยาลัยเอกชนทั่วไป
 
{{โครง}}
[[หมวดหมู่:การสื่อสาร]]