ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การให้เหตุผลแบบนิรนัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหาและการอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
'''การให้เหตุผลแบบนิรนัย''' ({{lang-en|Deductive reasoning}}) หรือ '''การให้เหตุผลจากบนลงล่าง''' ({{lang-en|top-down logic}}) เป็นกระบวนการการนำความรู้พื้นฐานให้[[เหตุผล]]จากข้อความหรือ[[ข้อตั้ง]]หนึ่งข้อขึ้นไปซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุปที่แน่นอนทาง[[ตรรกศาสตร์]]<ref>{{cite book|last=Sternberg|first=R. J.|title=Cognitive Psychology|url=https://archive.org/details/cognitivepsychol00ster_347|url-access=registration|year=2009|publisher=Wadsworth|location=Belmont, CA|isbn=978-0-495-50629-4|pages=[https://archive.org/details/cognitivepsychol00ster_347/page/n606 578]}}</ref> เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
{{ขาดอ้างอิง}}
'''การให้เหตุผลแบบนิรนัย''' ({{lang-en|Deductive reasoning}}) หรือ '''การให้เหตุผลจากบนลงล่าง''' ({{lang-en|top-down logic}}) เป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นกฎ ข้อตกลง ความเชื่อ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด
 
การให้เหตุผลแบบนิรนัยจะเป็นไปในทิศทางเดียวกับ[[เงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์|เงื่อนไข]] คือการเชื่อม[[ข้อตั้ง]]กับ[[ข้อสรุป]] (Consequent) เมื่อข้อตั้งเป็นจริงทั้งหมด พจน์แต่ละพจน์[[ความกำกวม|ชัดเจน]] และทำตามกฎของ[[ตรรกศาสตร์]]แบบนิรนัยครบถ้วน ข้อสรุปที่ได้ก็[[ความจริงเชิงตรรกศาสตร์|จำเป็นที่จะเป็นจริง]] (logical truth)
การให้เหตุผลแบบนิรนัย ตรงกันข้ามกับ [[การให้เหตุผลแบบอุปนัย]]
 
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (''"การให้เหตุผลจากบนลงล่าง"'') ต่างจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย (''"การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน"'') ในด้านต่อไปนี้ ในการให้เหตุผลแบบนิรนัยข้อสรุปได้มา[[คตินิยมลดทอน|อย่างลดทอน]] (Reductionism) โดยการประยุกต์ใช้กฎทั่วไปที่เป็นจริงทั่ว[[มูลบทโลกปิด|ขอบเขตของสัมพันธสารที่ปิด]] (closed world assumption) ทำให้พิสัยที่อยู่ใต้การพิจารณาแคบลงเรื่อย ๆ จนเหลือ''แค่''ข้อสรุป (คือไม่มี[[ความไม่แน่นอน|ความไม่แน่นอนทางญาณวิทยา]] เช่นส่วนที่ไม่ได้ถูกรับรู้ของเซตที่มีอยู่ปัจจุบัน ทุกส่วนของเซตที่มีอยู่ปัจจุบันจะต้องมีอยู่และถูกรับรู้)<ref>{{citation|title=Models of 6-valued measures: 6-kinds of information|first=Jan|last=Zi|publisher=Kindle Direct Publishing Science|year=2019|url=https://www.amazon.com/dp/B081PT2CPR}}</ref> ในการให้เหตุผลแบบอุปนัยข้อสรุปได้มาโดยการวางนัยทั่วไปหรือการพาดพิงกรณีเฉพาะไปสู่กฎทั่วไป คือมีความไม่แน่นอนทางญาณวิทยาอยู่ (ส่วนที่ไม่ได้ถูกรับรู้ของเซตที่มีอยู่ปัจจุบัน)<ref>{{citation|title=Models of 6-valued measures: 6-kinds of information|first=Jan|last=Zi|publisher=Kindle Direct Publishing Science|year=2019|url=https://www.amazon.com/dp/B081PT2CPR}}</ref> แต่ทว่าการให้เหตุผลที่พูดถึง ณ ที่นี้ไม่ใช่[[การอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์|การอุปนัย]] (Mathematical Induction) ที่ใช้ในการพิสูจน์เชิงคณิตศาสตร์ การอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์นั้นแท้จริงแล้วเป็นรูปแบบหนึ่งของการให้เหตุผลแบบนิรนัย
 
การให้เหตุผลแบบนิรนับต่างจาก[[การให้เหตุผลแบบหรณนัย]] (abductive reasoning) โดยทิศทางของการให้เหตุผลเทียบกับเงื่อนไข การให้เหตุผลแบบนิรนัยไปในทิศทางเดียวกับเงื่อนไข ในขณะที่การให้เหตุผลแบบหรณนัยไปในทิศทางตรงกันข้าม คือการพยายามหาข้อตั้งที่สมเหตุสมผลที่สุดเมื่อให้ข้อสรุปมา ตัวอย่างเช่นงานสอบสวนในคดีฆาตกรรมที่ต้องหาตัวผู้ร้ายจากข้อสรุปหรือหลักฐานที่ฉากและสภาพศพ<ref>yrprincess, [https://www.scimath.org/article-mathematics/item/4706-holmes-csi-2-abductive "สืบจากการ์ตูนโคนัน Holmes และ CSI (ตอนที่2) การให้เหตุผลแบบ Abductive"] www.scimath.org, 27 กุมภาพันธ์ 2558, 6 มิถุนายน 2563</ref>
 
==ตัวอย่างง่าย ๆ==
ตัวอย่างของการอ้างเหตุผลโดยการใช้การให้เหตุผลแบบนิรนัย:
# มนุษย์ทุกคนเป็นมัตตัย (ข้อตั้งแรก)
# โสกราตีสเป็นมนุษย์ (ข้อตั้งที่สอง)
# เพราะฉะนั้น โสกราตีสเป็นมัตตัย (ข้อสรุป)
 
ข้อตั้งแรกกล่าวว่าวัตถุทุกชิ้นที่จัดหมวดหมู่เป็น "มนุษย์" มีคุณสมบัติ "มัตตัย" ข้อตั้งที่สองกล่าวว่า "โสกราตีส" จัดหมวดหมู่เป็น "มนุษย์" หรือเป็นสมาชิกของเซต "มนุษย์" ข้อสรุปจึงกล่าวว่า "โสกราตีส" จำเป็นต้องเป็น "มัตตัย" เพราะเขาได้รับคุณสมบัตินี้จากการจัดเขาเข้าหมวดหมู่ "มนุษย์"
 
(<strong>หมายเหตุ</strong>: มัตตัย หรือภาษาอังกฤษ mortal แปลว่าผู้ที่ต้องตาย)
 
[[หมวดหมู่:เหตุผล]]