ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8914394 สร้างโดย 2001:44C8:44C8:46E5:1:2:1D98:548 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 18:
{|style="text-align:center; width:100%" class="wikitable"
|+
! width="90px" |พระบรมฉายาลักษณ์!! width="20%" |พระนาม!! width="25%" |ระยะเวลาการครองราชสมบัติ!! width="20%" |วันประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก!! width="40%" |หมายเหตุ
|-
| rowspan="2" |[[ไฟล์:King Buddha Yodfa Chulaloke.jpg|90px]]
| rowspan="2" bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]'''
| rowspan="2" | 6 เมษายน พ.ศ. 2325
7 กันยายน พ.ศ. 2352
| 10 มิถุนายน 2325
| 10 มิถุนายน พ.ศ. 2325 <br><small>(วันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 8 บูรพาษาฒ <br>ปีขาล จัตวาศก จ.ศ. 1144)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๒-พระราชพิธีปราบดาภิเษก |title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|last=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงกระทำการปราบดาภิเษกครั้งแรก โดยเป็นพระราชพิธีอย่างสังเขป
|-
| 17 มิถุนายน 2328
| 17 มิถุนายน พ.ศ. 2328 <br><small>(ปีมะเส็ง สัปตศก จ.ศ. 1147)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๒๘-พระราชพิธีบรมราชาภิเษก |title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|last=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นครั้งที่สองอย่างครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี, มีการรวบรวมตำราแบบแผนการประกอบพระราชพิธีจากการประชุมบรรดานักปราชญ์ราชบัณฑิต, สร้างเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ขึ้นใหม่ทดแทนของเดิมที่สูญหายจากภัยสงคราม
|-
|[[ไฟล์:King Buddha Loetla Nabhalai.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]'''
| 7 กันยายน พ.ศ. 2352
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367
| 17 กันยายน 2352
| 17 กันยายน พ.ศ. 2352 <br><small>(วันอาทิตย์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 10 <br>ปีมะเส็ง เอกศก จ.ศ. 1171)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๕-พระราชพิธีบรมราชาภิเศก |title=พระราชพงษาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒|last=สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี
|-
|[[ไฟล์:King Nangklao.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367
2 เมษายน พ.ศ. 2394
| 1 สิงหาคม 2367
| 1 สิงหาคม พ.ศ. 2367 <br><small>(วันอาทิตย์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 9 <br>ปีวอก ฉศก จ.ศ. 1186)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๓/๒-พระราชพิธีบรมราชาภิเศก |title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓|last=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี
|-
|[[ไฟล์:King Rama in full Regalia.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| 2 เมษายน พ.ศ. 2394
1 ตุลาคม พ.ศ. 2411
| 15 พฤษภาคม 2394
| 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 <br><small>(วันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 <br>ปีกุน ตรีศก จ.ศ. 1213)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๔-พระราชพิธีบรมราชาภิเศก |title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔|last=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี โดยมีการเพิ่มเติมการใช้ภาษามคธในบางขั้นตอนของพระราชพิธี, โปรดเกล้าฯ ให้ชาวต่างประเทศเข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคลในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกได้เป็นครั้งแรก
|-
| rowspan="2" |[[ไฟล์:Rama V c1870.jpg|90px]]
| rowspan="2" bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| rowspan="2" | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411
23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
| 11 พฤศจิกายน 2411
| 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 <br><small>(วันพุธ แรม 12 ค่ำ เดือน 12 <br>ปีมะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. 1230)</small><ref>{{Cite web |url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๕/ตอนที่-๕ |title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๕|last=สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|website=vajirayana.org |access-date=2018-10-23}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก โดยมี[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]]เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์
|-
| 16 พฤศจิกายน 2416
| 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416 <br><small>(วันอาทิตย์ แรม 12 ค่ำ เดือน 12 <br>ปีระกา จัตวาศก จ.ศ. 1234)</small>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่สอง เนื่องจากทรงบรรลุพระราชนิติภาวะ, สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์พ้นจากหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแทนพระองค์
|-
| rowspan="2" |[[ไฟล์:Coronation_portrait_of_King_Vajiravudh.jpg|90px]]
| rowspan="2" bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| rowspan="2" | 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
| 11 พฤศจิกายน 2453
| 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453<br><small>(วันศุกร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 12 <br>ปีจอ โทศก จ.ศ. 1272)</small><ref>{{cite journal |author=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=16 พฤศจิกายน 2453 |title=''การพระราชพิธีบรมราชาภิเศก เฉลิมพระราชมณเฑียร ปีจอโทศกจุลศักราช ๑๒๗๒ พระพุทธศาสนากาล ๒๔๕๓ รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๙'' |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/E/1.PDF |language=Thai |access-date=2017-09-06}}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เฉพาะพิธีการสำคัญตามโบราณราชประเพณี งดการรื่นเริงต่าง ๆ เนื่องจากอยู่ระหว่างงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
|-
| 28 พฤศจิกายน 2454
| 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454<br><small>(วันอังคาร ขึ้น 8 ค่ำ เดือนอ้าย<br>ปีกุน ตรีศก จ.ศ. 1273)</small>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่สองอย่างครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี เพิ่มเติมการรื่นเริงต่าง ๆ และมีการเชิญพระราชอาคันตุกะจากนานาประเทศเข้าร่วมพระราชพิธี ในหมายกำหนดการเรียกพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งนี้ว่า "พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภช"
|-
|[[ไฟล์:King Prajadhipok at his Coronation.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
2 มีนาคม พ.ศ. 2477
| 25 กุมภาพันธ์ 2469<br> 25 กุมภาพันธ์ 2468
| 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 <br>{{เทาเล็ก|(ตามปฏิทินสากล)}} <br> 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 <br><small>(วันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 4 <br>ปีฉลู สัปตศก จ.ศ. 1287)</small><br>{{เทาเล็ก|(ตามปฏิทินแบบไทยและราชกิจจานุเบกษา)}}<ref>{{cite journal |author=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=3 มีนาคม 2468 |title=''พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร ปีฉลูสัปตศก พุทธศักราช ๒๔๖๘'' |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/A/E/0.PDF |language=Thai |access-date=2017-09-06 }}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี, โปรดเกล้าฯ สถาปนา[[หม่อมเจ้ารำไพพรรณี สวัสดิวัตน์]] เป็นสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี, มีการบันทึก[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|ภาพยนตร์ข่าวพระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]ไว้เป็นหลักฐานครั้งแรกของประเทศสยาม
|-
|[[ไฟล์:Rama IX on his Throne.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล]]'''
'''[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|อดุลยเดช บรมนาถบพิตร]]<!-- คงพระนามขณะดำรงเป็นกษัตริย์ไว้ -->'''
| 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489
13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
| 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
<small>(วันศุกร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 6 <br>ปีขาล โทศก จ.ศ. 1312)</small><ref>{{cite journal |author=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=9 พฤษภาคม 2493 |title=''พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช และ พระราชพิธีเฉลิมพระราชมนเทียร พ.ศ. ๒๔๙๓'' |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/027/1937.PDF |language=Thai |access-date=2017-09-06 }}</ref>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี โดยมีการเปลี่ยนแปลงถ้อยคำและลดขั้นตอนบางอย่างในพิธีการให้เหมาะสมกับการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ, โปรดเกล้าฯ สถาปนา[[สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์]] เป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
|-
|[[ไฟล์:King Rama X on the royal palaquin, 5 May 2019.jpg|90px]]
| bgcolor="FEFEFA" |'''[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]]'''
| 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ปัจจุบัน
| 4 พฤษภาคม 2562
| 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562<br><small>(วันเสาร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 <br>ปีกุน เอกศก จ.ศ. 1381)</small>
|ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ <br> โปรดเกล้าฯ เกล้าสถาปนา สมเด็จพระราชินีสุทิดา ขึ้นเป็น [[สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี]]
|-
|}