ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัสซีนี–เฮยเคินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
แก้ไขลิงก์เสียในส่วนอ้างอิง
บรรทัด 31:
| payload_mass =
| dimensions =
| power = ~885&nbsp;วัตต์ (BOL)<ref name=quickfacts/><br /> ~670&nbsp;วัตต์ (2010)<ref name="barber">{{cite web |url= http://saturn.jpl.nasa.gov/news/cassiniinsider/insider20100823/ |title= Insider's Cassini: Power, Propulsion, and Andrew Ging |publisher= NASA |first= Todd J. |last= Barber |date= August 23, 2010 |accessdate= August 20, 2011 |url-status= dead |archiveurl= https://web.archive.org/web/20120402002307/http://saturn.jpl.nasa.gov/news/cassiniinsider/insider20100823/ |archivedate= April 2, 2012 }}</ref> <br /> ~663&nbsp;วัตต์ (EOM/2017)<ref name="quickfacts"/>
 
| launch_date = {{start-Start date| October 15, 1997, |10|15|08:|43:|00|Z|fmt=พ.ศ.}}&nbsp;UTC
| launch_rocket = [[Titan IV| Titan IV(401)B]] B-33
| launch_site = [[Cape Canaveral Air Force Station|Cape Canaveral]] [[Cape Canaveral Air Force Station Space Launch Complex 40|SLC-40]]
| launch_contractor =
 
| disposal_type = {{nowrap|[[Cassini retirement|Controlled entry into Saturnบังคับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศดาวเสาร์]]}}<ref name="NASA-20170915">{{cite news |last1last1= Brown |first1first1= Dwayne |last2last2= Cantillo |first2first2= Laurie |last3last3= Dyches |first3first3= Preston |title= NASA's Cassini Spacecraft Ends Its Historic Exploration of Saturn |url= https://www.jpl.nasa.gov/news/news.php?feature=6948 |date= September 15, 2017 |work= [[NASA]] |accessdate= September 15, 2017}}
</ref><ref name="NYT-20170914">
{{cite news
บรรทัด 48:
}}
</ref>
| last_contact = 15 กันยายน .ศ.20172560
* 11:55:39 UTC X-band telemetry
* 11:55:46 UTC S-band radio science<ref>{{cite interview |title= Cassini Post-End of Mission News Conference |date= September 15, 2017 |publisher= NASA Television |location= Pasadena, CA}}</ref>
บรรทัด 60:
|note = Gravity assist
|object = [[ดาวศุกร์]]
|arrival_date = 26 เมษายน .ศ.19982541
|distance = {{convert|283|km|mi|abbr=on}}
}}
บรรทัด 67:
|note = แรงโน้มถ่วง
|object = [[ดาวศุกร์]]
|arrival_date = 24 มิถุนายน .ศ.19992542
|distance = {{convert|623|km|mi|abbr= on}}
}}
บรรทัด 74:
|note = แรงโน้มถ่วง
|object = ระบบ[[โลก]]-[[ดวงจันทร์]]
|arrival_date = 18 สิงหาคม .ศ.19992542, 03:28&nbsp;UTC
|distance = {{convert|1171|km|mi|abbr= on}}
}}
บรรทัด 81:
|note = โดยบังเอิญ
|object = [[2685 Masursky]]
|arrival_date = 23 มกราคม .ศ.20002543
|distance = {{convert|1600000|km|mi|abbr= on}}
}}
บรรทัด 88:
|note = แรงโน้มถ่วง
|object = [[ดาวพฤหัส]]
|arrival_date = 30 ธันวาคม .ศ.20002543
|distance = {{convert|9852924|km|mi|abbr= on}}
}}
บรรทัด 94:
|type = orbiter
|object = [[ดาวเสาร์]]
|arrival_date = 1 กรกฎาคม .ศ.20042547, 02:48&nbsp;UTC
}}
{{Infobox spaceflight/IP
บรรทัด 100:
|object = [[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]]
|component = ''[[เฮยเคินส์ (ยานอวกาศ)|เฮยเคินส์]]''
|arrival_date = 14 มกราคม .ศ.20052548
}}
 
| programme = [[Large Strategic Science Missions|ภารกิจวิทยาศาสตร์เชิงกลยุทธ์ขนาดใหญ่]]
| previous_mission = ''[[กาลิเลโอ (ยานอวกาศ)|กาลิเลโอ]]''
| next_mission = [[Mars Science Laboratory]]
บรรทัด 112:
ยานโดยสารไปกับไททัน 4บี/เซ็นทอร์เมื่อวันี่ 15 ตุลาคม 2540 ปฏิบัติภารกิจในอวกาศเป็นเวลากว่า 19 ปี โดยใช้เวลา 13 ปีโคจรรอบดาวเสาร์ แล้วศึกษาดาวเคราะห์และระบบดาวหลังเข้าสู่โคจรเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 การเดินทางสู่ดาวเสาร์มีการบินผ่านดาวศุกร์ (เมษายน 2541 ถึงกรกฎาคม 2542) โลก (สิงหาคม 2542) ดาวเคราะห์น้อย 2685 มาเซอร์สกี และ[[ดาวพฤหัสบดี]] (ธันวาคม 2543) ภารกิจสิ้นสุดลงในวันที่ 15 กันยายน 2560 เมื่อกัสซีนีได้รับคำสั่งให้บินเข้าชั้นบรรยากาศบนของดาวเสาร์และถูกเผาไหม้เพื่อป้องกันความเสี่ยงการทำให้ดาวบริวารของดาวเสาร์ปนเปื้อนจุลชีพจากโลกที่ติดไปกับยาน ทั้งนี้ ดาวบริวารของดาวเสาร์บางดวงมีสิ่งแวดล้อมที่อาจมีสิ่งมีชีวิตได้ ภารกิจดังกล่าวเป็นที่รู้กันแพร่หลายว่าประสบความสำเร็จเหนือความคาดหมาย ผู้อำนวยการกองวิทยาดาวเคราะห์ของนาซาเรียก ''กัสซีนี–เฮยเคินส์'' ว่าเป็น "ภารกิจแห่งครั้งแรก" ซึ่งปฏิบัติความเข้าใจของมนุษย์เกี่ยวกับระบบดาวเสาร์ ซึ่งรวมทั้งดาวบริวารและวงแหวน และความเข้าใจว่าอาจพบสิ่งมีชีวิตได้ใน[[ระบบสุริยะ]]
 
ภารกิจดั้งเดิมของกัสซีนีวางแผนไว้กินเวลาสี่ปี ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2547 ถึงพฤษภาคม 2551 ต่อมาภารกิจถูกขยายเวลาไปสองปีถึงเดือนกันยายน 2553 เรียก ''ภารกิจวิษุวัตกัสซีนี'' (Cassini Equinox Mission)<ref name="ExtensionTo2010">{{cite news| |url=httphttps://www.cnnjpl.comnasa.gov/2008/TECH/science/04/16news/NASAnews.Saturn.ap/index.htmlphp?feature=1659 | title=NASA extendsExtends SaturnCassini's missionGrand -Tour CNN.com}}of Saturn |publisher=NASA{{ลิงก์เสีย\}}Jet Propulsion Laboratory |first1=Dwayne |last1=Brown |first2=Carolina |last2=Martinez |date=สิงหาคมApril 15, 2008 |accessdate=August 14, 25532017}}</ref> และขยายเวลาครั้งที่สองและครั้งสุดท้ายด้วย ''ภารกิจอายันกัสซีนี'' (Cassini Solstice Mission) ที่กินเวลาต่อมาอีกเจ็ดปีถึงวันที่ 15 กันยายน 2560
 
16 ประเทศในทวีปยุโรปพร้อมทั้ง[[สหรัฐ]]จัดตั้งทีมซึ่งรับผิดชอบต่อการออกแบบ การก่อสร้าง การบิน และการเก็บข้อมูลจากส่วนโคจรกัสซีนีและยานสำรวจเฮยเคินส์ ภารกิจดังกล่าวบริหารจัดการโดย[[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]]ของนาซาในสหรัฐ ที่ซึ่งส่วนบนรนโคจรถูกออกแบบและประกอบ การพัฒนายานสำรวจไททันเฮยเคินส์บริหารจัดการโดยศูนย์วิจัยอวกาศและเทคโนโลยียุโรป อุปกรณ์เครื่องมือสำหรับยานสำรวจดังกล่าวได้รับการจัดหาจากหลายประเทศ องค์การอวกาศอิตาลี (ASI) จัดหาเสาวิทยุกำลังขยายสูงของยานสำรวจกัสซีนี และเรดาร์น้ำหนักเบาและกะทัดรัด ซึ่งทำหน้าที่อเนกประสงค์ทั้งเป็นการถ่ายภาพจากเรดาร์ (synthetic aperture radar) มาตรความสูงเรดาร์และมาตรรังสี
บรรทัด 125:
* [http://www.nasa.gov/mission_pages/cassini/main/ ''Cassini-Huygens'' main page] at [[NASA]]
* [http://saturn.jpl.nasa.gov/ Cassini Mission Homepage] by the Jet Propulsion Laboratory
 
 
{{ดาวเสาร์}}
{{ยานอวกาศศตวรรษ21}}
{{Authority control|VIAF=1155042743972402424}}
 
[[หมวดหมู่:ยานอวกาศ|กัสซีนี–เฮยเคินส์]]