ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image = [[ไฟล์:Troops in the Boworadet rebellion.jpg|320px]]
| caption = ทหารช่างอยุธยาตกเป็นเชลยถูกควบคุมโดยทหารฝ่ายรัฐบาล ซึ่งถือปืนติดดาบปลายปืนอยู่แถวหลัง
| date = 11–2524 ตุลาคม พ.ศ. 2476
| place = [[จังหวัดพระนคร]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] และ[[จังหวัดราชบุรี]]
| result = รัฐบาลชนะอย่างเด็ดขาด<br />{{bulleted list
| [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช|พระองค์เจ้าบวรเดช]]หนีออกนอกประเทศ
| [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า]]หนีออกนอกประเทศไปหาดใหญ่
}}
| status =
บรรทัด 15:
| combatant3 =
| commander1 = พันโท[[แปลก พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] <br> พลตรี[[พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค)|พระยาสุรพันธเสนี]]
| commander2 = [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช|พลเอกพระองค์เจ้าบวรเดช]]<br>พระยาเสนาสงคราม<br>พันเอก[[พระยาศรีสิทธิสงคราม]] {{KIA}}
| commander3 =
| strength1 =
บรรทัด 32:
==เบื้องหลัง==
===ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง===
[[ไฟล์:Prince Boworadet.jpg|thumb|220px|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกลาโหม]]
[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช|พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] เป็นเจ้านายผู้กล่าวโจมตีระบอบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์มีความชิงชังต่อการปกครองของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่แต่งตั้งคนสอพลอโกงกินเข้ามาไว้ราชสำนักมากมาย พระองค์เจ้าบวรเดชเคยวางแผนยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า แล้วจะทูลเชิญ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์]]ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แทน แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเสด็จสวรรคตเสียก่อน และเจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ก็ไม่ซึ่งมีความอาวุโสกว่าปฏิเสธรับตำแหน่งพระมหากษัตริย์ เจ้าฟ้าประชาธิปกผู้อ่อนวัยวุฒิกว่าจึงได้เสวยราชย์เป็นพระมหากษัตริย์
 
พระองค์เจ้าบวรเดชเป็นทหารมีความสามารถและมีอุปนิสัยแข็งกร้าว และรู้กันดีว่าทรงเป็นผู้นิยมระบอบทหาร จึงเป็นที่เกรงใจของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าซึ่งเคยเป็นทหารรุ่นน้องอย่างมาก พระองค์เจ้าบวรเดชได้เป็นเสนาบดีกลาโหมในรัชกาลใหม่ ถึงกระนั้นก็ยังไม่พอใจกับพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ พระองค์เจ้าบวรเดชไม่พอใจที่กองทัพถูกตัดงบประมาณจึงลาออกจากเสนาบดีกลาโหม และพยายามยุให้บรรดาอดีตลูกน้องในบัญชาของพระองค์ซึ่งก็คือนายพันจบนอกทั้งหลายร่วมยึดอำนาจจากพระปกเกล้า พระองค์เจ้าบวรเดชชอบนำความลับของเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ไปแพร่งพรายให้พวกลูกน้องฟังเสมอ โดยหวังเมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว พวกลูกน้องจะยกพระองค์ขึ้นเป็นหัวหน้ารัฐบาล
 
===หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง===
เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองสำเร็จ พระยาพหลพลพยุหเสนาเสนอชื่อพระองค์เจ้าบวรเดชในที่ประชุมคณะราษฎรเพื่อเป็นหัวหน้ารัฐบาล แต่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมคัดค้านด้วยเห็นว่าพระองค์เจ้าบวรเดชมีอุปนิสัยเป็นเผด็จการและยังเป็นเจ้า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเสนอชื่อ[[พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)|พระยามโนปกรณนิติธาดา]]เป็นประธานกรรมการราษฎร (เทียบเท่านายกรัฐมนตรี) ตั้งแต่นั้นมาพระองค์เจ้าบวรเดชจงจึงมีความเกลียดจงชังต่อหลวงประดิษฐ์มนูธรรม
 
เมื่อพระยามโนปกรณนิติธาดาได้เป็นประธานกรรมการราษฎร ก็เกิดความขัดแย้งกับส่วนใหญ่ของคณะราษฎร [[ปรีดี พนมยงค์|หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]]เสนอแผนเค้าโครงเศรษฐกิจที่เรียกว่า "[[สมุดปกเหลือง]]" ซึ่งจะทำให้ราษฎรทุกคนมีงานทำ ชาวนามีบำนาญเช่นเดียวกับข้าราชการ พระยามโนฯมองว่าคณะราษฎรมีความคิดก้าวหน้าเกินไป และโจมตีหลวงประดิษฐ์มนูธรรมอย่างรุนแรงว่าเป็นคอมมิวนิสต์ พระยามโนฯออกพระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ พุทธศักราช 2476 และใช้เล่นงานหลวงประดิษฐ์มนูธรรม แต่จบลงที่การไกล่เกลี่ยกันให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรมไปอยู่ต่างประเทศ
เส้น 54 ⟶ 55:
 
===แผนลอบสังหารที่วังปารุสก์===
นอกจากการใช้กำลังทหารเข้าล้มล้างอำนาจของรัฐบาลแล้ว ฝ่ายกบฏยังวางแผนเข้าสังหารบุคคลสำคัญของคณะราษฎรซึ่งพักอยู่ในวังปารุสกวันอีกด้วย<ref name="ans">ศิลปวัฒนธรรม. [https://www.silpa-mag.com/history/article_52048 “แผนหลั่งเลือดที่วังปารุสก์” ปฏิบัติการปลิดชีพผู้นำคณะราษฎรของ “คณะกู้บ้านเมือง”] 25 มิถุนายน พ.ศ.2563</ref> เพื่อให้รัฐบาลเกิดภาวะสุญญาก่อนที่คณะกู้บ้านเมืองจะยกทัพลงมาถึงกรุงเทพ แผนสังหารผู้นำรัฐบาลในกรุงเทพถูกดำเนินการจัดแจงโดยนายพโยม โรจนวิภาต สายลับฝ่ายราชสำนักในพระนคร เขาได้รับโทรเลขเป็นรหัสลับจากนครราชสีมาในวันที่ 9 ตุลาคมความว่า คณะกู้บ้านเมืองจะยกทัพออกจากนครราชสีมาในวันที่ 10 ตุลาคม และจะเดินทางถึงกรุงเทพวันที่ 11 ตุลาคม<ref name="ans"/>
 
นายพโยมติดต่อกับนายพันตรีทหารม้าคนหนึ่งซึ่งมีบรรดาศักดิ์ขุน<ref name="ans"/> นายพันตรีได้ว่าจ้างยอดมือปืนจากต่างจังหวัดเข้ามาในกรุงเทพเพื่อมากำจัดบุคคลสำคัญคนหนึ่ง โดยวางแผนให้มือปืนลอบเข้าไปเข้าดักรอบริเวณหน้าห้องนอนในวังปารุสก์ เมื่อเสียงสัญญาณของกองทัพหัวเมืองที่ยกมาถึงกรุงเทพดังขึ้น พันโทหลวงพิบูลสงครามจะพรวดพราดออกมาจากห้องนอนและถูกกำจัดทิ้ง ในการนี้ นายพันตรีได้ว่างจ้างมือปืนอีกชุดเพื่อดักรอเก็บมือปืนชุดแรกเพื่อปิดปาก อย่างไรก็ตาม พวกเขารอจนเช้าก็ไม่มีวี่แววของคณะกู้บ้านเมือง จนทราบภายหลังว่า คณะกู้บ้านเมืองเลื่อนแผนการออกไปหนึ่งวัน โดยจะเดินทางถึงกรุงเทพในวันที่ 12 ตุลาคม
 
==เหตุการณ์กบฏ==
[[ไฟล์:Boworadet Rebellion Map.png|220px|thumb|แผนที่แสดงกองกำลังทหารทั้งสองฝ่าย สีแดงคือกองกำลังกบฏ]]
=== 11 ตุลาคม===
=== 11 ตุลาคม "กบฏยึดทุ่งดอนเมือง"===
ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 เพียงสิบวันหลังหลวงประดิษฐ์มนูธรรมเดินทางกลับประเทศสยาม พระองค์เจ้าบวรเดชนำกองกำลังทหารนามว่า "คณะกู้บ้านเมือง" เข้าจับกุมคนของรัฐบาลเป็นเชลยที่โคราช พันเอกพระยาศรีสิทธิสงครามนำกำลัง 2 กองพันทหารช่างจากสระบุรีเป็นทัพหน้าลงมายึดทุ่งดอนเมือง โดยมีกองทหารม้าของร้อยเอกหลวงโหมรอนราญตามลงมาสมทบ และตั้งเข้ายึดกรมอากาศยานที่ดอนเมืองเป็นกองบัญชาการกู้บ้านเมืองที่นั่นในช่วงบ่าย รอกองกำลังจากส่วนอื่นมาสมทบ พระยาศรีสิทธิสงครามส่งกองหน้ามายึดสถานีรถไฟหลักสี่ และส่งหนังสือถึงพระยาพหลฯ ยื่นคำขาดให้คณะรัฐมนตรีลาออกโดยกล่าวหาว่ารัฐบาลสนับสนุนคอมมิวนิสต์
 
เวลาค่ำ นายกรัฐมนตรีออกประกาศไปยังทุกหน่วย ''"ในพระนครเหตุการณ์เรียบร้อย อย่าฟังคำสั่งผู้ใดทั้งสิ้นนอกจากข้าพเจ้า พระยาพหลพลพยุหเสนาฯ"''<ref name="thaipost"/>
=== 12 ตุลาคม===
 
=== 12 ตุลาคม "กรุงเทพตอบโต้"===
เมื่อรัฐบาลทราบว่าทุ่งดอนเมืองโดนทหารกบฏยึดเป็นที่แน่ชัดแล้ว จึงประกาศกฎอัยการศึกในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ในพื้นที่จังหวัดใหญ่ทหารบกพระนคร<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/597.PDF ประกาศใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่จังหวัดใหญ่ทหารบกกรุงเทพฯ]</ref> ในวันเดียวกัน รัฐบาลประกาศแก้กฎอัยการศึกขยายพื้นที่บังคับใช้เป็นทั่วมณฑลพระนครกับมณฑลอยุธยา<ref>ราชกิจจานุเบกษา. [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/598.PDF ประกาศ แก้ไขกำหนดเขตต์ในประกาศกฎอัยการศึก ลงวันที่ 12 ตุลาคม พุทธศักราช 2476]</ref> พันเอกพระยาทรงสุรเดชปฏิเสธที่จะเป็นผู้บังคับกองผสม พันโทหลวงพิบูลสงครามจึงรับอาสาเป็นผู้บังคับกองผสมปราบกบฏแทน
 
ในวันเดียวกัน เมื่อชาวพระนครทราบข่าวว่าการกบฏจากทหารหัวเมือง พลเมืองที่เชื่อมั่นในระบอบใหม่ได้ออกมาชุมนุมกันช่วยเหลืองานฝ่ายรัฐบาลเป็นจำนวนมาก ทหารกองหนุนจำนวนมากเข้ามารายงานตัวกับรัฐบาล ทั้งที่ยังไม่มีหมายเรียกระดมพลทหารกองหนุนแต่ประการใด<ref>ศิลปวัฒนธรรม. [https://www.silpa-mag.com/history/article_40051 บทบาทพลเมืองสยามปราบกบฏบวรเดช ลางาน 7 วันพิทักษ์รธน. ถึงรวมกันบู๊ไล่ทหารได้] 24 มิถุนายน 2563</ref> รัฐบาลส่งผู้แทนไปทูลเชิญเสด็จในหลวงที่วังไกลกังวลให้กลับพระนครเพื่อเป็นขวัญกำลังใจแก่ทหารรัฐบาล แต่ในหลวงทรงปฏิเสธและอ้างว่าขอวางองค์เป็นกลาง
กองผสมฝ่ายรัฐบาลซึ่งประกอบด้วย 3 กองพันทหารราบ และ 1 กองพันทหารปืนใหญ่ เคลื่อนขบวนทัพจากลานพระบรมรูปทรงม้า ไปยังลานสินค้าของบริษัทปูนซีเมนต์สยามที่สถานีรถไฟบางซื่อ ซึ่งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟบางเขนไปประมาณ 5 กิโลเมตรเศษ จากนั้นจึงเอาปืนใหญ่ภูเขาแบบ 63 ลำกล้องขนาด 75 มม. ระยะยิงไกล 6 กิโลเมตร มาตั้งเรียงแถวหน้ากระดานอยู่บนถนนประดิพัทธิ์ ก่อนจะเริ่มระดมยิงใส่ทหารกบฏในเวลาราว 14 นาฬิกา แต่ฝ่ายกองทหารกบฏของหลวงโหมรอนราญก็ยังสามารถเคลื่อนลงมายึดสถานีรถไฟบางเขนไว้ได้
 
พันโทหลวงพิบูลสงครามและนำกองผสมฝ่ายรัฐบาลซึ่งประกอบด้วย 3 กองพันทหารราบ และ 1 กองพันทหารปืนใหญ่ เคลื่อนขบวนทัพจากลานพระบรมรูปทรงม้า ไปยังลานสินค้าของบริษัทปูนซีเมนต์สยามที่สถานีรถไฟบางซื่อ ซึ่งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟบางเขนไปประมาณ 5 กิโลเมตรเศษ จากนั้นจึงเอาปืนใหญ่ภูเขาแบบ 63 ลำกล้องขนาดลำกล้อง 75 มม. ระยะยิงไกล 6 กิโลเมตร มาตั้งเรียงแถวหน้ากระดานอยู่บนถนนประดิพัทธิ์ ก่อนจะเริ่มระดมยิงใส่ทหารกบฏในเวลาราว 14 นาฬิกา แต่ฝ่ายกองทหารกบฏของหลวงโหมรอนราญก็ยังสามารถเดินลุยน้ำเคลื่อนลงมายึดสถานีรถไฟบางเขนไว้ได้
===13 ตุลาคม===
กองหน้าของหลวงโหมรอนราญรที่สถานีบางเขนไม่ได้รับเสบียงและกระสุนมากว่าหนึ่งวัน หลวงโหมรอนราญจึงเดินเท้าตามทางรถไฟย้อนขึ้นไปยังกองบัญชาการที่ดอนเมืองเพื่อขอเสบียง เมื่อเข้าไปในกองบัญชาการก็พบนายทหารชั้นผู้ใหญ่ตั้งวงดื่มสุราและเล่นบิลเลียด
 
===13 ตุลาคม "กบฏอ่อนกำลัง"===
ฝ่ายรัฐบาลได้ส่งพันตรี[[จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์|หลวงเสรีเริงฤทธิ์ ]]เป็นตัวแทนฝ่ายรัฐบาลมาเจรจาให้ฝ่ายกบฏเลิกราไปเสีย และจะขอพระราชทานอภัยโทษให้ แต่ทางฝ่ายกบฏได้จับตัวพันตรีกลับจับกุมหลวงเสรีเริงฤทธิ์ไว้เป็นตัวประกันและนำตัวไปขังไว้ที่อยุธยา และในเวลา 12 นาฬิกา ฝ่ายกบฏได้ส่ง นาวาอากาศเอกพระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์, นาวาอากาศโทพระยาเทเวศวร อำนวยฤทธิ์ และเรือเอกเสนาะ รักธรรม เป็นคนกลางถือหนังสือของพระองค์เจ้าบวรเดชมาเจรจากับรัฐบาล โดยยืนเงื่อนไขทั้งหมด 6 ข้อ<ref>นิคม จารุมณี, 2519. หน้า คือ352-353</ref>:
 
:# ต้องจัดการในทุกทางที่จะอำนวยผลให้ประเทศสยามมีพระมหากษัตริย์ปกครองประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญชั่วกัลปาวสาน
:# ต้องดำเนินการตามรัฐธรรมนูญโดยแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การตั้งและถอดถอนคณะรัฐบาลต้องเป็นไปตามเสียงของหมู่มาก
:# ข้าราชการซึ่งอยู่ในตำแหน่งประจำการทั้งหลายและพลเรือนต้องอยู่นอกการเมือง ตำแหน่งฝ่ายทหารตั้งแต่ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือลงไปต้องไม่มีหน้าที่ทางการเมือง
:# การแต่งตั้งบุคคลในตำแหน่งราชการ จักต้องถือคุณวุฒิและความสามารถเป็นหลัก ไม่ถือเอาความเกี่ยวข้องในทางการเมืองเป็นความชอบหรือเป็นข้อรังเกียจในการบรรจุเลื่อนตำแหน่ง
:# การเลือกตั้งผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ต้องถวายให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเลือก
:# การปกครองกองทัพบกจักต้องให้มีหน่วยผสมตามหลักยุทธวิธี เฉลี่ยอาวุธสำคัญแยกกันไปประจำตามท้องถิ่น มิให้รวมกำลังไว้เฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง
 
กองหน้าฝ่ายรัฐบาลยืนกรานไม่ยินยอมตามคำขาดดังกล่าว ทำให้การสู้รบดำเนินต่อไป ขณะเดียวกัน ที่แนวหน้าของทหารกบฏที่บางเขนเริ่มเกิดความขัดสน ทหารของร้อยเอกหลวงโหมรอนราญรที่สถานีบางเขนไม่ได้รับเสบียงและกระสุนมากว่ามาหนึ่งวันเต็ม ขณะนั้นเป็นฤดูน้ำหลาก เนื่องจากสองข้างทางรถไฟถูกน้ำท่วมหมดทำให้การขนส่งกำลังบำรุงมาแนวหน้าของฝ่ายกบฏต้องอาศัยเรือพายเท่านั้น หลวงโหมรอนราญจึงเดินเท้าตามทางรถไฟย้อนขึ้นไปยังกองบัญชาการที่ดอนเมืองเพื่อขอเสบียง เมื่อเข้าไปในกองบัญชาการก็พบนายทหารชั้นผู้ใหญ่ตั้งวงดื่มสุราและเล่นบิลเลียดอยู่
ฝ่ายรัฐบาลยืนกรานไม่ยินยอมตามคำขาดดังกล่าว จึงเกิดการต่อสู้กันของทั้งสองฝ่าย
 
===14 ตุลาคม "รัฐบาลรุกไล่"===
14 ตุลาคม ทหารฝ่ายรัฐบาลได้เคลื่อนกำลังรุกคืบเข้ามาปะทะทหารฝ่ายกบฏที่ยึดสถานีรถไฟบางเขน โดยใช้หัวรถจักรหุ้มเกราะดันหลังรถข.ต.บรรทุกรถถังเคลื่อนที่เข้าหาพร้อมกันทั้ง 2 ราง นอกจากนี้แล้วยังมีเหล่าทหารราบอยู่ในรถพ่วงคันหลังอีกจำนวนหนึ่ง ผลจากการปะทะในช่วงเช้าส่งผลให้ฝ่ายรัฐบาลสูญเสียผู้บังคับกองพันที่มีความสำคัญมากไป ผู้บัญชาการกองกำลังผสมฝ่ายรัฐบาลจึงรีบแก้เกมส์สถานการณ์ที่กำลังจะเพลี่ยงพล้ำทันที โดยสั่งการให้ไปนำรถสายพานติดตั้งปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานแบบอากาศ 76QF 2-pounder จากประเทศอังกฤษ ที่เพิ่งผ่านการตรวจรับมาแล้วจำนวน 2 คันมาเข้าสู่ออกสนามรบจริงทันที
 
อำนาจการยิงของปืนกลต่อต้านอากาศยานขนาด 40 มม. อัตรายิง 115 นัดต่อนาที เป็นเรื่องที่น่าตกใจมาก กระสุนปืนทำให้รังปืนกลของฝ่ายกบฏเกิดรูขนาดใหญ่ รวมทั้งปืนก็ยิงได้เร็วและรุนแรงต่อเนื่อง ทหารกบฏทั้งหมดไม่เคยเจออาวุธทันสมัยแบบนี้มาก่อน จึงพากันหนีตายทิ้งที่มั่นวิ่งหนีเอาตัวรอดกลับไปยังฐานทัพหลักที่ดอนเมือง ทหารราบจากฝ่ายรัฐบาลจึงสามารถเข้ายืดพื้นที่ทุ่งบางเขนไว้ได้โดยละม่อม
 
===15–2524 ตุลาคม "กบฏแตกพ่าย"===
15 ตุลาคม ฝ่ายรัฐบาลได้หนุนกำลังพร้อมอาวุธหนักนำขึ้นรถไฟ มีทั้งรถเกราะและปืนกล รุกไล่ฝ่ายปฏิวัติจนเกือบประชิดแนวหน้าฝ่ายปฏิวัติซึ่งเป็นรองทั้งกำลังสนับสนุนและอาวุธต่าง ๆ จำเป็นต้องถอยนอกจากนี้ ฝ่ายกบฏไม่ได้กำลังเสริม เพราะทหารเพชรบุรีที่ร่วมก่อการถูกหน่วยทหารราชบุรีตรึงกำลังไว้ ทหารจากนครสวรรค์และพิษณุโลกก็ถูกขัดขวางจากหน่วยทหารลพบุรีและหน่วยทหารปราจีนบุรี พระองค์เจ้าบวรเดชเห็นว่าสู้ฝ่ายรัฐบาลไม่ได้แล้วจึงสั่งให้ถอนกำลังกลับไปตั้งรับนครราชสีมา และมอบหมายพันเอกพระยาศรีสิทธิสงครามเป็นผู้บัญชาการรบหน่วยระวังหลัง
 
16 ตุลาคม เวลา 3 นาฬิกา ทหารกบฏเริ่มถอนกำลังออกจากดอนเมือง และเดินทางถึงสถานีปากช่องในเวลา 13 นาฬิกา
พระองค์เจ้าบวรเดชสั่งให้ถอยทัพไปยึดช่องแคบสถานีปากช่องเพื่อเตรียมการต่อสู้กับรัฐบาลต่อไป ขณะที่เคลื่อนกำลังถอยไปนั้น ก็ได้ทำการระเบิดทำลายสะพานและทางรถไฟเสียหายหลายแห่ง เพื่อเป็นการประวิงเวลาการติดตามรุกไล่ของฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายกบฏถูกกองกำลังฝ่ายรัฐบาลติดตามปราบปรามถึงสถานีหินลับ-ทับกวาง และปากช่อง ได้รับความเสียหายอย่างหนัก พระองค์เจ้าบวรเดชขึ้นเครื่องบินหนีไป[[ไซ่ง่อน]]ในปกครองของฝรั่งเศส
 
17 ตุลาคม หน่วยข่าวกรองของจังหวัดขอนแก่นได้รับทราบข่าวจากแถลงการณ์รัฐบาลว่าฝ่ายกบฏแตกพ่ายไปทางนครราชสีมา ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่นจึงทำลายทางรถไฟเพื่อขัดขวางการลำเลียงทหารมาสู่ตัวจังหวัด อาสาสมัครและเจ้าหน้าที่รถไฟได้ลงมือภารกิจลับทำลายรางรถไฟและสะพานระหว่างสถานีเมืองพลกับสถานีบ้านหัน
 
19 ตุลาคม ขบวนรถไฟบรรทุกทหารฝ่ายกบฏเคลื่อนออกจากนครราชสีมามุ่งหน้าขอนแก่น แต่ขบวนรถไฟมาถึงช่วงรางรถไฟและสะพานถูกทำลายขบวนทหารกบฏหยุดชะงักไม่สามารถแล่นมายังจังหวัดขอนแก่นได้ ขณะเดียวกัน พระยาศรีสิทธิสงครามสั่งการหน่วยระวังหลังเร่งถอดรางรถไฟบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 141-144 ซึ่งเป็นช่วงทางโค้งและแคบใน[[อำเภอแก่งคอย]] ให้ทหารตั้งรังปืนกลบนหน้าผาเป็นระยะ
 
20 ตุลาคม ทหารจังหวัดอุดรธานีเจ็ดสิบนายเดินทางมาถึงขอนแก่นและเคลื่อนกำลังไปรักษาสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำชีที่ห่างตัวจังหวัดออกไปอีก 6 กิโลเมตร
 
21 ตุลาคม ช่วงดึก ฝ่ายกบฏเมื่อทราบว่าทหารขอนแก่นกับอุดรธานีเข้ากับฝ่ายรัฐบาล จึงส่งร้อยเอกหลวงโหมรอนราญนำกำลังไปยึดอุดรธานีและขอนแก่น
 
22 ตุลาคม ร้อยเอกหลวงโหมรอนราญถูกเรียกตัวกลับมานครราชสีมาเพราะมีข่าวว่ากองกำลังของรัฐบาลรุกคืบเข้ามาใกล้ถึงแก่งคอยแล้ว หลวงโหมรอนราญเสนอให้ทหารยึดอำนาจจากฝ่ายพลเรือน แต่พระองค์เจ้าบวรเดชดำริว่า ''"เวลานี้ใครๆ ก็แลเห็นว่าเราแพ้แล้วทั้งนั้น จะยึดอำนาจการปกครองบ้านเมืองเราก็ไม่มีนายทหารมากพอจะให้ไปควบคุม โทษผิดเท่านี้ก็พอแล้ว อย่าให้มากกว่านี้เลย"''<ref name="thaipost">[https://www.thaipost.net/main/detail/44479 อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ อนุสรณ์ไทยรบไทย] 28 สิงหาคม 2562</ref> พระองค์เจ้าบวรเดชเริ่มวางแผนเสด็จลี้ภัยไปยัง[[อินโดจีนของฝรั่งเศส]] นายทหารชั้นผู้ใหญ่ฝ่ายกบฏก็วางแผนเดินทางหลบหนีออกนอกประเทศตามความถนัด พระยาศรีสิทธิสงครามไม่ทราบความจริงจึงปักหลักที่ผาเสด็จต่อไป<ref>ศิลปวัฒนธรรม. [https://www.silpa-mag.com/history/article_48932 ปมกระสุนปริศนาปลิดชีพพระยาศรีสิทธิสงคราม ผู้สกัดการติดตามของรัฐบาลขณะกบฏบวรเดชหนี] 25 มิถุนายน 2563</ref>
 
23 ตุลาคม เวลาค่ำ ทหารฝ่ายรัฐบาลสามารถยึดพื้นที่ทางรถไฟบริเวณหลักกิโลเมตรที่ 141-144 และสามารถสังหารพระยาศรีสิทธิสงคราม
 
24 ตุลาคม พันโทหลวงพิบูลสงครามเดินทางถึงแก่งคอยในช่วงสายและได้รับรายงานว่าพระยาศรีสิทธิสงครามตายแล้ว
 
25 ตุลาคม พระองค์เจ้าบวรเดชและพระชายาทรงขึ้นเครื่องบินจากนครราชสีมาหนีไปยังเมือง[[โฮจิมินห์ซิตี้|ไซ่ง่อน]] ทหารรัฐบาลเข้ายึดเมืองนครราชสีมาไว้ได้
 
==เสด็จหนีไปหาดใหญ่==
1716 ตุลาคม เครื่องบินฝ่ายกบฏบินมาทิ้งใบปลิวที่วังไกลกังวลเพื่อทูลว่าการยึดอำนาจล้มเหลว ในค่ำวันต่อมา เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระประปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งประทับอยู่ที่วังไกลกังวลเกล้าฯทราบว่าฝ่ายกบฏพ่ายแพ้ และรัฐบาลกำลังส่งตัวมีรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมลงเดินทางมาถึงหัวหินแล้วและกำลังเดินทางมาเข้าเฝ้า ก็ทรงตื่นตระหนกรีบเสด็จลงเรือพระที่นั่งศรวรุณ ซึ่งเป็นเรือยนต์ลำเล็กอย่างกะทันหันพร้อมกับ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี|สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี]], [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์]], [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี]], [[หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล]], [[หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล]], [[หม่อมเจ้าพิไลยเลขา ดิศกุล]] และคนอื่นๆ เพื่อจะไปจังหวัดสงขลา
 
เรือยนต์น้ำมันหมดต้องขึ้นฝั่งที่จังหวัดชุมพร ในหลวงรับสั่งให้[[หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์|หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท]] นายทหารรักษาวัง ขโมยยึดรถไฟขบวนหนึ่งมุ่งหน้าอำเภอหาดใหญ่<ref>พูนพิสมัย ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ๒๕๔๖ ''สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น ประวัติศาสตร์เปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕''. พิมพ์ครั้งที่ ๕. (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน), หน้า ๑๓๗-๑๔๘.</ref> เมื่อนายเล้ง ศรีสมวงศ์ อธิบดีกรมรถไฟทราบข่าวดังกล่าวก็เข้าใจว่าในหลวงกำลังเสด็จหนีออกนอกประเทศ จึงรีบสั่งการข้าหลวงจังหวัดชุมพรให้ถอดรางรถไฟก่อนไปถึงหาดใหญ่ [[พระราชญาติรักษา (ประกอบ บุนนาค)|พระราชญาติรักษา]] ข้าหลวงจังหวัดชุมพร รีบโทรเลขเข้ามาถาม[[พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)|พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์]] รัฐมนตรีมหาดไทย ว่าถ้าถอดรางรถไฟเจ้านายอาจตายกันหมด พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์รีบนำความเข้าแจ้งนายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลหยุหเสนาสั่งการอนุญาตให้รถไฟเดินได้ตลอดสายทาง
 
25 ตุลาคม พระบาทสมเด็จประปกเกล้าฯมีพระราชกระแสจากพระตำหนักเขาน้อย จังหวัดสงขลา แนะนำให้รัฐบาลประกาศอภัยโทษให้แก่ผู้ร่วมก่อการจลาจลตลอดจนนายทหารและบุคคลที่ไม่ใช่หัวหน้าหรือคนสำคัญในการกระทำครั้งนี้เสียโดยเร็ว แต่ถูกแต่รัฐบาลปฏิเสธโดยอ้างหลักการที่ว่าจำต้องดำเนินคดีให้ถึงที่สุดเสียก่อน
== บทบาทของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ==
{{โครงส่วน}}
 
== ผลลัพธ์ ==
ภายหลังได้มีการตั้งรัฐบาลจัดตั้งศาลพิเศษ มีการคุมขังทหารและพลเรือนผู้เกี่ยวข้องกับการกบฏครั้งนี้นับร้อยคนที่[[เรือนจำบางขวาง]] {{cn-span|แต่ที่ไม่มีการประหารชีวิต เพราะ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้สละราชสมบัติ ทำให้รัฐบาลต้องอภัยโทษให้บรรดาผู้รับโทษประหารชีวิตเป็นโทษจำคุกตลอดชีวิต และผู้ได้รับโทษจำคุกก็ได้รับการลดโทษตามลำดับขั้น}}
เหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้นายทหารฝ่ายกบฏ ได้แก่ นายพันเอก [[พระยาศรีสิทธิสงคราม]] (ดิ่น ท่าราบ) ถูกยิงโดยทหารจากกองพันทหารราบที่ 6 นำโดยพันตรีหลวงวีรวัฒน์โยธา เมื่อ [[23 ตุลาคม]] ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังเมือง[[โฮจิมินห์ซิตี้|ไซ่ง่อน]] [[อินโดจีนฝรั่งเศส]] เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] และต่อไปยัง[[ประเทศกัมพูชา]]ตามลำดับและกลับมายังประเทศไทย เมื่อปี [[พ.ศ. 2491]] ขณะที่พระอนุชาของท่าน ([[หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร]]) ถูกทหารจับกุม
 
ภายหลังได้มีการตั้งศาลพิเศษ มีการคุมขังทหารและพลเรือนผู้เกี่ยวข้องกับการกบฏครั้งนี้นับร้อยคนที่[[เรือนจำบางขวาง]] {{cn-span|แต่ที่ไม่มีการประหารชีวิต เพราะ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้สละราชสมบัติ ทำให้รัฐบาลต้องอภัยโทษให้บรรดาผู้รับโทษประหารชีวิตเป็นโทษจำคุกตลอดชีวิต และผู้ได้รับโทษจำคุกก็ได้รับการลดโทษตามลำดับขั้น}}
 
รัฐบาลได้จัดให้มีรัฐพิธีให้แก่ผู้เสียชีวิตทั้ง 17 คนคราวปราบกบฏบวรเดช โดยได้จัดสร้างเมรุชั่วคราว ณ ทุ่งพระเมรุ ([[สนามหลวง]]) ซึ่งเดิม[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ไม่ทรงยินยอมให้ใช้พื้นที่ทุ่งพระเมรุนี้เพราะเป็นที่ถวายพระเพลิงเชื้อพระวงศ์ แต่ทางคณะราษฎรยืนยันที่จะสร้างเมรุชั่วคราวบนทุ่งพระเมรุ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงต้องทรงยินยอม แต่ระบุถ้อยคำด้วยท่วงทำนองว่า “ไม่ได้เป็นพระราชประสงค์”<ref name="Chatri">[[ประชาไท]], [http://prachatai.com/05web/th/home/9615 ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์] (ย่อหน้า 3,) ประชาไท, 19 กันยายน พ.ศ. 2550</ref>