ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| status =
| combatant1 = [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4|รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา]]
| combatant2 = "คณะกู้บ้านกู้เมือง"
| combatant2 = [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
| combatant3 =
| commander1 = พันเอก [[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] <br> พลตรี [[พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค)|พระยาสุรพันธเสนี]]
บรรทัด 100:
ฝ่ายปฏิวัติถูกกำลังฝ่ายรัฐบาลติดตามปราบปรามถึงสถานีหินลับ-ทับกวาง และปากช่อง ได้รับความเสียหายอย่างหนัก พระองค์เจ้าบวรเดชขึ้นเครื่องบินหนีออกนอกประเทศ และฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามฝ่ายปฏิวัติได้สำเร็จในที่สุด
 
== บทบาทของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ==
== ผลที่เกิดขึ้น ==
ปรากฏหลักฐานว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้เงินและกำลังใจแก่คณะกบฏ<ref name="ชิงสุก">[https://www.silpa-mag.com/history/article_49962 “ชิงสุกก่อนห่าม” วาทกรรมซัดกลับคณะราษฎร ในแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทย]</ref>
 
{{โครงส่วน}}
 
== ผลลัพธ์ ==
[[ไฟล์:Phraya Srisitthisongkhram.jpg|thumb|250px|พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)]]
เหตุการณ์ครั้งนั้น ทำให้นายทหารฝ่ายกบฏ ได้แก่ นายพันเอก [[พระยาศรีสิทธิสงคราม]] (ดิ่น ท่าราบ) ถูกยิงโดยทหารจากกองพันทหารราบที่ 6 นำโดยพันตรีหลวงวีรวัฒน์โยธา เมื่อ [[23 ตุลาคม]] ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังเมือง[[โฮจิมินห์ซิตี้|ไซ่ง่อน]] [[ประเทศเวียดนามอินโดจีนฝรั่งเศส]] เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] และต่อไปยัง[[ประเทศกัมพูชา]]ตามลำดับและกลับมายังประเทศไทย เมื่อปี [[พ.ศ. 2491]] ขณะที่พระอนุชาของท่าน ([[หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร]]) ถูกทหารจับกุม
 
ภายหลังได้มีการตั้งศาลพิเศษ มีการคุมขังทหารและพลเรือนผู้เกี่ยวข้องกับการกบฏครั้งนี้นับร้อยคนที่[[เรือนจำบางขวาง]] {{cn-span|แต่ที่ไม่มีการประหารชีวิต เพราะ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้สละราชสมบัติ ทำให้รัฐบาลต้องอภัยโทษให้บรรดาผู้รับโทษประหารชีวิตเป็นโทษจำคุกตลอดชีวิต และผู้ได้รับโทษจำคุกก็ได้รับการลดโทษตามลำดับขั้น}}
 
รัฐบาลได้จัดให้มีรัฐพิธีให้แก่ผู้เสียชีวิตทั้ง 17 คนคราวปราบกบฏบวรเดช โดยได้จัดสร้างเมรุชั่วคราว ณ ทุ่งพระเมรุ ([[สนามหลวง]]) ซึ่งเดิม[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ไม่ทรงยินยอมให้ใช้พื้นที่ทุ่งพระเมรุนี้เพราะเป็นที่ถวายพระเพลิงเชื้อพระวงศ์ แต่ทางคณะราษฎรยืนยันที่จะสร้างเมรุชั่วคราวบนทุ่งพระเมรุ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงต้องทรงยินยอม แต่ระบุถ้อยคำด้วยท่วงทำนองว่า “ไม่ได้เป็นพระราชประสงค์”<ref name="Chatri">[[ประชาไท]], [http://prachatai.com/05web/th/home/9615 ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์] (ย่อหน้า 3,) ประชาไท, 19 กันยายน พ.ศ. 2550</ref>