ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมคโอเอส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BoatThithat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่ม macOS Big Sur
BoatThithat (คุย | ส่วนร่วม)
→‎macOS Big Sur (11.0): , →‎macOS Catalina (10.15): เปลี่ยนแปลง และเพิ่มเติมข้อมูล
บรรทัด 2:
| name = macOS
| logo = [[ไฟล์:MacOS wordmark.svg|128px]]
| screenshot = [[ไฟล์:หน้าจอเริ่มต้นของ_macOS_SierraMacOS_Big_Sur.png|300px|macOS desktop]]
| caption = ภาพแสดงบนหน้าจอของ macOS vBig Sur 11.10.120
| developer = [[แอปเปิล (บริษัท)|แอปเปิล]]
| family = [[ยูนิกซ์]]
| supported_platforms = [[x86-64]], [[IA-32]], [[PowerPC]] (ทั้ง 32 และ 64 บิต), [[x86-64]], [[ARM]]
| source_model = [[Proprietary software]]/[[Closed source software|Closed source]] (บางส่วนเป็น [[ซอฟต์แวร์เสรี]]/[[โอเพนซอร์ส]])
| latest_release_version = [[macOS MojaveCatalina|macOS MojaveCatalina 10.1415.45]]
| latest_release_date = {{release date|mf=yes|20192020|0306|0501}}
| working_state = ปัจจุบัน
| kernel_type = [[Hybrid kernel|Hybrid]]
| ui = [[Graphical user interface|GUI]] ([[Aqua (user interface)|Aqua]])
| license = [[Proprietary software|Proprietary]] [[EULA]]
| website = [http://www.apple.com/macos/sierra/ Apple - macOS]
|latest_preview_version=[[macOS CatalinaBig Sur|macOS CatalinaBig 10Sur 11.150 Devloper Beta 1]]
|latest_preview_date={{release date|mf=yes|20192020|06|0323}}}}
 
'''แมคโอเอส ({{lang-en|macOS}})''' ก่อนหน้าเรียกว่า แมคโอเอสเท็น ({{lang-en|Mac OS X}}) ถึงปี 2554 และ โอเอสเทน ({{lang-en|OS X}}) ถึงปี 2559 เป็น[[ระบบปฏิบัติการ]]รุ่นล่าสุดในตระกูล[[แมคโอเอส]]สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์[[แมคอินทอช]] วางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อปี [[ค.ศ. 2001]] ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ แกนกลาง [[ดาร์วิน]] (Darwin) ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมการทำงานแบบ[[ยูนิกซ์]]ที่เป็น[[โอเพนซอร์ส]] และ[[ส่วนติดต่อผู้ใช้]]แบบ [[อควา]] (Aqua) ซึ่งเป็นลิขสิทธิ์ของ'''[[แอปเปิล (บริษัท)|บริษัทแอปเปิล]]'''
บรรทัด 149:
|3 มิถุนายน 2562
|7 ตุลาคม 2562
|10.15 beta 1.5 (19A471t19F101)
(31 มิถุนายน 25622563)
|-
|macOS 11.0
เส้น 283 ⟶ 284:
* Safari ใช้ระบบเข้าเว็บแบบส่วนตัวเป็นรายหน้าต่างได้แล้ว, เพิ่มระบบค้นหา DuckDuckGo ที่จะไม่เก็บประวัติการค้นหาของผู้ใช้
* Mail เพิ่มระบบ Markup ที่ไว้เซ็นหรือเขียนข้อความบนรูปภาพหรือไฟล์ PDF ได้จากในแอพ Mail, Mail Drop ระบบที่มีไว้เพื่อส่งไฟล์ที่ใหญ่แต่ต้องไม่เกิน 5GB
* ระบบ Continuity ทำให้การทำงานระหว่าง iOS และ OS X ราบรื่น ซึ่งจะทำงานได้บน iOS 8 และ/หรือ OS X Yosemite ขึ้นไปเท่านั้น<ref>[http://www.apple.com/pr/library/2014/06/02Apple-Announces-OS-X-Yosemite.html]</ref>
หมายเหตุ : ระบบ Continuity จะทำงานได้บน iOS 8 และ/หรือ OS X Yosemite ขึ้นไปเท่านั้น
 
=== OS X 10.11 (El Capitan) ===
โดยเน้นปรับปรุงตรงที่ประสบการณ์การใช้งาน (Experience) และ ประสิทธิภาพ (Proformance)
เส้น 301 ⟶ 300:
** ประมวลผลภาพบน[[หน่วยประมวลผลกลาง|ซีพียู]]เร็วขึ้น 50%
** ประมวลผลภาพบน[[หน่วยประมวลผลกลาง|ซีพียู]]ประหยัดพลังงานเพิ่มขึ้น 40%
** เพิ่มประสิทธิภาพบนเกมส์ : เรนเดอร์ภาพบน[[จีพียู]]เร็วกว่า 10 เท่า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้กราฟิค<ref>https://www.blognone.com/node/69203</ref>
 
=== macOS Sierra (10.12) ===
เส้น 312 ⟶ 311:
** ย้ายไฟล์เก่าๆ ขึ้น iCloud โดยอัตโนมัติ
** ลบไฟล์ที่ไม่ใช้งานโดยอัตโนมัติ เช่น แคช , ไฟล์อยู่ในถังขยะนานเกิน 60 วัน
* เพิ่ม Apple Pay ให้ใช้จ่ายบนในเว็บได้
* เพิ่มแท็บ เพื่อจัดการหน้าต่างของแอพต่างๆ
* ,เพิ่ม Picture in Picture แสดงวิดีโอจากเว็บเป็นกรอบขนาดเล็ก เล่นอยู่ที่มุมจอ สามารถเคลื่อนย้ายตำแหน่งได้ง่าย
* เพิ่ม [[Siri (software)|Siri]]
 
บรรทัด 319:
''เนื้อหาหลักดูที่ : [[แมคโอเอส ไฮ ซีเอรา]]''
 
โดยเน้นปรับปรุงในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ โดยปรับปรุงแอพบน [[ซาฟารี (เว็บเบราว์เซอร์)|Safari]] , Mail Photos และอื่น ๆ พร้อมทั้งนี้ ยังใช้ฟอร์แมทฮาร์ดดิสก์ Apple File System (APFS) เป็นค่าเริ่มต้น , รองรับวิดีโอ ที่เข้ารหัสแบบ HEVC (H.265) , Metal API เป็นเวอร์ชัน 2 ซึ่งได้เปิดตัวมาในงาน WWDC 2017 ในวันที่ 6 มิถุนายน 2560
 
=== macOS Mojave (10.14) ===
บรรทัด 327:
 
=== macOS Catalina (10.15) ===
macOS Catalina ได้เปิดตัวในงาน WWDC 2019 ในวันที่ 3 มิถุนายน 2562 โดยได้เพิ่มฟิวเจอร์ดังต่อไปนี้
macOS Catalina ได้เปิดตัวในงาน WWDC 2019 ในวันที่ 3 มิถุนายน 2562 โดยได้ทำการแยก iTunes แตกออกเป็น 3 แอพ (โดยมี [[Apple Music]] , Podscast และ Apple TV ส่วนตัวจัดการ iPhone ไปอยู่ในที่ Finder) , รองรับ SideCar (คือการนำเอา iPad มาเป็นหน้าจอที่สองของ macOS) , เพิ่มฟีเจอร์สำหรับคนพิการ , เพิ่มแอพ Find My โดยสามารถค้นหาเครื่องแมคได้ แม้ว่าเครื่องแมคนั้นปิดอยู่ หรือเครื่องจะออฟไลน์อยู่ก็ตาม , เพิ่มความสามารถ Acitivation Lock , เพิ่ม Screen Time และมาพร้อม API ใหม่ ที่สามารถนำแอพจาก iPad มาทำเป็น macOS ได้ง่ายขึ้น <ref>{{Cite web|url=https://www.apple.com/th/newsroom/2019/06/apple-previews-macos-catalina/|title=Apple เผยตัวอย่าง macOS Catalina|accessdate=5 มิถุนายน 2562|work=Apple}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/hitech/1477009/|title=WWDC 2019 : macOS 10.15 Catalina มาแล้วพร้อมลูกเล่นใหม่เพียบ|work=Sanook|accessdate=5 มิถุนายน 2562}}</ref>
 
* ได้ทำการแยก iTunes แตกออกเป็น 3 แอพ (โดยมี [[Apple Music]] , Podscast และ Apple TV ส่วนตัวจัดการ iPhone ไปอยู่ในที่ Finder)
* รองรับ SideCar (คือการนำเอา iPad มาเป็นหน้าจอที่สองของ macOS)
* เพิ่มฟีเจอร์สำหรับคนพิการ
 
* เพิ่มแอพ Find My โดยสามารถค้นหาเครื่องแมคได้ แม้ว่าเครื่องแมคนั้นปิดอยู่ หรือเครื่องจะออฟไลน์อยู่ก็ตาม พร้อมเพิ่มความสามารถ Acitivation Lock
* เพิ่ม Screen Time เพื่อช่วยจัดการใช้งานในเวลาหน้าจอ
* มาพร้อม API ใหม่ ที่สามารถนำแอพจาก iPad มาทำเป็น macOS ได้ง่ายขึ้น ในที่มีชื่อว่า Project Catalyst<ref>{{Cite web|url=https://www.apple.com/th/newsroom/2019/06/apple-previews-macos-catalina/|title=Apple เผยตัวอย่าง macOS Catalina|accessdate=5 มิถุนายน 2562|work=Apple}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/hitech/1477009/|title=WWDC 2019 : macOS 10.15 Catalina มาแล้วพร้อมลูกเล่นใหม่เพียบ|work=Sanook|accessdate=5 มิถุนายน 2562}}</ref>
 
=== macOS Big Sur (11.0) ===
ในงาน WWDC 2020 ในวันที่ 23 มิถุนายน 2563 ได้มีการเปิดตัว macOS Big Sur ซึ่งเป็นรุ่นแรกได้ใช้เป็นเวอร์ชั่น 11 โดยได้มีการปรับปรุง และเพิ่มฟิวเจอร์ดังต่อไปนี้
 
* เปลี่ยนหน้าตา ยกดีไซน์ใหม่ไปใช้แบบใหม่ ดูสะอาดตามากยิ่งขึ้น พร้อมอัพเกรดไอคอนใหม่ด้วยเช่นกัน
* เพิ่ม Control Center และเปลี่ยนหน้าตาของ Notification Center
* เพิ่ม Privacy Report , พื้นหลัง และส่วนเสริมใน Safari พร้อมให้มีการอัพเดตให้โหลดได้เร็วกว่า Google Chrome ถึง 50%
* ปรับปรุงแอพ Maps , Photos , Messenge และอื่น ๆ ใหม่ทั้งหมด รวมไปถึง Finder ด้วย<ref>{{Cite web|url=https://www.apple.com/macos/big-sur-preview/features/|title=New features coming with macOS Big Sur.|accessdate=23 มิถุนายน 2563|author=Apple}}</ref>
 
และในรุ่นนี้ เป็นรุ่นแรกที่รองรับซีพียูบนสถาปัตยกรรม ARM อย่างเป็นทางการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และประหยัดพลังงานสูงสุด ในทั้งนี้ ยังสามารถใช้กับซีพียู Intel ในสถาปัตยกรรม x86-64 ได้อยู่เช่นเคย และจะเปลี่ยนไปใช้สถาปัตยกรรม ARM สมบูรณ์ในอีก 2 ปี และยังส่งชุดอุปกรณ์พัฒนาที่คล้ายกับ Mac Mini มีนามว่า Developer Transition Kit หรือ DTK ซึ่งมีซีพียู Apple A12Z Bionic , ความจุแรม 16 GB , พื้นที่เก็บฮาร์ดดิสก์ SSD ความจุ 512 GB , ติดตั้ง macOS Big Sur ในรุ่นทดสอบสำหรับนักพัฒนา พร้อมโปรแกรม Xcode 12 มาให้ผู้พัฒนาใช้งานกัน ส่วนในแอพพลิเคชั่นที่ออกแบบมาเพื่อ x86-64 นั้น จะสามารถทำได้ดังนี้
 
* ใช้ Universal 2 เมื่อเปิดโปรเจกต์โปรแกรม บนใน Xcode 12 Beta ขึ้นไป จะให้ทำการแปลงเป็น Native Apps เพื่ออัพเกรดให้รองรับ macOS ในสถาปัตยกรรม ARM
และในรุ่นนี้ เป็นรุ่นแรกที่รองรับซีพียูบนสถาปัตยกรรม ARM อย่างเป็นทางการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และประหยัดพลังงานสูงสุด ในทั้งนี้ ยังสามารถใช้กับซีพียู Intel ในสถาปัตยกรรม x86-64 ได้อยู่เช่นเคย และจะเปลี่ยนไปใช้สถาปัตยกรรม ARM สมบูรณ์ในอีก 2 ปี และยังส่งชุดอุปกรณ์พัฒนาที่คล้ายกับ Mac Mini ซึ่งมีซีพียู Apple A12Z Bionic มาให้ผู้พัฒนาใช้งานกัน
* Rosetta 2 ระบบจำลองโปรแกรม ที่ให้โปรแกรมที่สร้างใน x86-64 นั้น ให้สามารถรันบนในสถาปัตยกรรม ARM ได้
* เพิ่มระบบจำลอง ให้สามารถรัน[[ลินุกซ์]]ได้ พร้อมทั้งนี้ ยังรองรับแอพที่รันบนใน [[ไอโอเอส|iOS]] และ iPadOS ได้ด้วย<ref>{{Cite web|author=Apple|title=Apple announces Mac transition to Apple silicon|url=https://www.apple.com/newsroom/2020/06/apple-announces-mac-transition-to-apple-silicon/|accessdate=23 มิถุนายน 2563}}</ref>
 
== ภาษา ==