ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงข่ายประสาทเทียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hamish (คุย | ส่วนร่วม)
restore contents
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนกล่องข้อมูล
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Artificial neural network.svg|thumb|ข่ายงานประสาทเทียมมีการเชื่อมต่อกันผ่านกลุ่ม[[โนด|โหนด]]]]
[[ไฟล์:Artificial neural network.svg|thumb|ข่ายงานประสาทเทียมมีการเชื่อมต่อกันผ่านกลุ่ม[[โนด|โหนด]]]]'''โครงข่ายประสาทเทียม''' (Artificial neural networks: ANN) หรือ '''ข่ายงานประสาทเทียม''' (Connectionist systems) คือ[[ระบบคอมพิวเตอร์]]จาก[[โมเดลทางคณิตศาสตร์]] เพื่อจำลองการทำงาน[[โครงข่ายประสาท]]ชีวภาพที่อยู่ในสมองของสัตว์ โครงข่ายประสาทเทียมสามารถเรียนรู้ที่จะทำงานที่มอบหมายได้ จากการเรียนรู้ผ่านตัวอย่าง โดยไม่ถูกโปรแกรมด้วยกฎเกณฑ์ตายตัวแบบระบบอัตโนมัติ ยกตัวอย่างเช่น ใน[[การประมวลผลภาพ]] คอมพิวเตอร์ที่ทำงานด้วยระบบโครงข่ายประสาทเทียมจะเรียนรู้การจำแนกรูปภาพแมวได้จากการให้ตัวอย่างรูปภาพที่กำกับโดยผู้เขียนโปรแกรมว่า “เป็นแมว” หรือ “ไม่เป็นแมว” จากนั้นนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ระบุภาพแมวในตัวอย่างรูปภาพอื่น ๆ โปรแกรมโครงข่ายประสาทเทียมสามารถแยกแยะรูปภาพแมวได้โดยปราศจากการความรู้ก่อนหน้า ว่า ”แมว” คืออะไร (อาทิ แมวมีขน มีหูแหลม มีเขี้ยว มีหาง) แทนที่จะใช้ความรู้ดังกล่าว โครงข่ายประสาทเทียมทำการระบุตัวแมวโดยอัตโนมัติด้วยการระบุลักษณะเฉพาะ จากชุดตัวอย่างที่เคยได้ประมวลผล
{{Machine learning bar}}
 
[[ไฟล์:Artificial neural network.svg|thumb|ข่ายงานประสาทเทียมมีการเชื่อมต่อกันผ่านกลุ่ม[[โนด|โหนด]]]]'''โครงข่ายประสาทเทียม''' (Artificial neural networks: ANN) หรือ '''ข่ายงานประสาทเทียม''' (Connectionist systems) คือ[[ระบบคอมพิวเตอร์]]จาก[[โมเดลทางคณิตศาสตร์]] เพื่อจำลองการทำงาน[[โครงข่ายประสาท]]ชีวภาพที่อยู่ในสมองของสัตว์ โครงข่ายประสาทเทียมสามารถเรียนรู้ที่จะทำงานที่มอบหมายได้ จากการเรียนรู้ผ่านตัวอย่าง โดยไม่ถูกโปรแกรมด้วยกฎเกณฑ์ตายตัวแบบระบบอัตโนมัติ ยกตัวอย่างเช่น ใน[[การประมวลผลภาพ]] คอมพิวเตอร์ที่ทำงานด้วยระบบโครงข่ายประสาทเทียมจะเรียนรู้การจำแนกรูปภาพแมวได้จากการให้ตัวอย่างรูปภาพที่กำกับโดยผู้เขียนโปรแกรมว่า “เป็นแมว” หรือ “ไม่เป็นแมว” จากนั้นนำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ระบุภาพแมวในตัวอย่างรูปภาพอื่น ๆ โปรแกรมโครงข่ายประสาทเทียมสามารถแยกแยะรูปภาพแมวได้โดยปราศจากการความรู้ก่อนหน้า ว่า ”แมว” คืออะไร (อาทิ แมวมีขน มีหูแหลม มีเขี้ยว มีหาง) แทนที่จะใช้ความรู้ดังกล่าว โครงข่ายประสาทเทียมทำการระบุตัวแมวโดยอัตโนมัติด้วยการระบุลักษณะเฉพาะ จากชุดตัวอย่างที่เคยได้ประมวลผล
 
แนวคิดเริ่มต้นของเทคนิคนี้ได้มาจากการศึกษาโครงข่ายไฟฟ้าชีวภาพ ([[:en:Bioelectricity|bioelectric network]]) ใน[[สมอง]] ซึ่งประกอบด้วย [[เซลล์ประสาท]] (neurons) และ [[จุดประสานประสาท]] (synapses) ตามโมเดลนี้ ข่ายงานประสาทเกิดจากการเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาท จนเป็นเครือข่ายที่ทำงานร่วมกัน
เส้น 8 ⟶ 11:
ในการสร้างระบบโครงข่ายประสาทเทียม [[เอาต์พุต]]ของแต่ละเซลล์ประสาทจะมาจากการคำนวณผลรวมของ[[อินพุต]] ด้วยฟังก์ชันการแปลง ([[:en:Transfer_function|transfer function]]) ซึ่งทำหน้าที่รวมค่าเชิงตัวเลขจากเอาต์พุตของเซลล์ประสาทเทียม แล้วทำการตัดสินใจว่าจะส่งสัญญาณเอาต์พุตออกไปในรูปใด ฟังก์ชันการแปลงอาจเป็นฟังก์ชันเส้นตรงหรือไม่ก็ได้ โครงข่ายประสาทเทียม ประกอบไปด้วย จุดเชื่อมต่อ (Connections) ซึ่งสามารถเรียกสั้น ๆ ได้ว่า [[:en:Edge_computing|เอจ]] (Edge), เมื่อโครงข่ายประสาทมีการเรียนรู้ จะเกิดค่าน้ำหนักขึ้น, ค่าน้ำหนัก (weights) คือ สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ของโครงข่ายประสาทเทียม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ค่าความรู้ (knowledge) ค่านี้จะถูกเก็บเป็นทักษะเพื่อใช้ในการจดจำข้อมูลอื่น ๆ ที่อยู่ในรูปแบบเดียวกัน<ref>อำภา สาระศิริ. เทคนิคการเรียนรู้พื้นฐานโครงข่ายประสาทเทียม. แหล่งที่มา: http://www.mut.ac.th/research-detail-92</ref>
 
จุดประสงค์ดั้งเดิมของการสร้างโครงข่ายประสาทเทียม คือการแก้ปัญหาแบบเดียวกับที่สมองมนุษย์สามารถทำได้ แต่เมื่อเวลาผ่านไป จุดประสงค์ของการสร้างโครงข่ายประสาทเทียมก็ได้เบี่ยงเบนเปลี่ยนไปเป็นการทำงานที่เฉพาะเจาะจง แทนจุดประสงค์เดิมในการสร้างสมองเทียม, ปัจจุบัน มีการประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมกับงานหลากหลายรูปแบบ อาทิเช่น [[คอมพิวเตอร์วิทัศน์]], [[การรู้จำคำพูด]], การแปลภาษา, การกรองเนื้อหาโซเชียลมีเดีย, การเล่นเกม, [[การวินิจฉัยโรค]] และกิจกรรมบางอย่างที่ไม่คิดว่าปัญญาประดิษฐ์จะทำได้ เช่น การวาดภาพ, การประพันธ์เพลง และ การประพันธ์บทกวี<ref>Bethge, Matthias; Ecker, Alexander S.; Gatys, Leon A. (26 August 2015). "A Neural Algorithm of Artistic Style". arXiv:1508.06576 [cs.CV].</ref>{{AI}}
 
== โครงสร้าง ==
นักวิจัยส่วนใหญ่ในปัจจุบันเห็นตรงกันว่าข่ายงานประสาทเทียมมีโครงสร้างแตกต่างจากข่ายงานในสมอง แต่ก็ยังเหมือนสมอง ในแง่ที่ว่าข่ายงานประสาทเทียม คือการรวมกลุ่มแบบขนานของหน่วยประมวลผลย่อยๆ และการเชื่อมต่อนี้เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสติปัญญาของข่ายงาน เมื่อพิจารณาขนาดแล้ว สมองมีขนาดใหญ่กว่าข่ายงานประสาทเทียมอย่างมาก รวมทั้งเซลล์ประสาทยังมีความซับซ้อนกว่าหน่วยย่อยของข่ายงาน อย่างไรก็ดีหน้าที่สำคัญของสมอง เช่นการเรียนรู้ ยังคงสามารถถูกจำลองขึ้นอย่างง่ายด้วยข่ายงานประสาท