ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37:
ภายหลัง จากการปราบ[[กบฏฮ่อ]] ได้สำเร็จถึง 2 ครั้ง ในปี [[พ.ศ. 2435]] จึงได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตร และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2439]] จึงได้รับการโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น ''เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี นฤบดีมหาสวามิภักดิ์ สัตยรักษ์เมตยาชวาศรัย ยุทธสมัยสมันตโกศล อณิกมณฑลอุขสุปรีย์ เสนานีอุดมเดช พิเศษสาธุคุณสุนทรพจน์ อดุลยยศเสนาบดี ศรีรัตนไตรยวุฒิธาดา อภัยพิริยปรากรมพาหุ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/034/413.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ในการพระราชทานสุพรรณบัตรและหิรัญบัตร], เล่ม ๑๓, ตอน ๓๔, ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๓๙, หน้า ๖๑๔</ref> ดำรงศักดินา 10,000 ต่อมาได้รับหน้าที่เป็นแม่ทัพ ไปปราบ[[กบฏเงี้ยวเมืองแพร่]] ซึ่งก่อการจลาจลที่[[หัวเมืองเหนือ]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2445]]<ref>ดูต่อที่ [http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/view/7975/7160 ปรีดี หงษ์สต้น. (2559, ส.ค.-2560, ก.ค.). สมบูรณาญาสิทธิราชย์ปราบเงี้ยว พ.ศ. 2445: กึ่งอาณานิคม การใช้กำลังทางทหาร และความเป็นชาย. ''วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ''. 41. น. 152-162.]</ref>
 
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี รับใช้ราชการ มาจนกระทั่งสมัยรัชการรัชกาลที่ 6 โดยได้รับตำแหน่งรัฐมนตรี และได้รับพระราชทานนามสกุลว่า "แสงชูโต" ซึ่งในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานยศให้เป็น "จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี" ในฐานะที่มีคุณงามความดีต่อประเทศชาติ
 
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีเมื่อครั้งเป็นเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าการ[[มณฑลปราจีนบุรี]] ท่านได้ยกตำแหน่ง ต.ศรีราชา ใน อ.บางพระ จ.ชลบุรี ขึ้นเป็น อ.ศรีราชา และลด อ.บางพระ เป็น ต.บางพระ สังกัด อ.ศรีราชา ท่านจึงถือเป็นผู้ก่อตั้ง[[อำเภอศรีราชา]]