ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยขอนแก่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vajiravitch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| former_names = มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (มภน.) <br/>North-East University (NEU)
| colors = <span style="color:#A73B24">██</span> สีดินแดง
| nickname = มอดินแดง
| ที่ตั้ง = • '''วิทยาเขตหลัก''' <br />123 [[ถนนมิตรภาพ]] [[ตำบลในเมือง]]<br />[[อำเภอเมืองขอนแก่น]] [[จังหวัดขอนแก่น]] 40002 (5,500 ไร่)<br />
• '''[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย|วิทยาเขตหนองคาย]]'''<br />112 หมู่ 7 [[ถนนมิตรภาพ]] [[ตำบลหนองกอมเกาะ]] [[อำเภอเมืองหนองคาย]] <br /> [[จังหวัดหนองคาย]] (3,413 ไร่)<br />
บรรทัด 23:
| เว็บไซต์ = [http://www.kku.ac.th/ www.kku.ac.th]
| logo = [[ไฟล์:Logo-KKU.png|250px]]
| มาสคอต = พระธาตุพนม
| coor =
|caption = '''ตราพระธาตุพนม'''<br>สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
}}
'''มหาวิทยาลัยขอนแก่น''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Khon Kaen University; [[อักษรย่อ]]: มข. — KKU) '''หรือมอดินแดง''' เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (มภน.)<ref>[https://ilp.kku.ac.th/e-administration/BackEnd/Program/Manage/view2.php?FILE_ID=235]</ref> เป็น[[สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล|มหาวิทยาลัย]]แห่งแรกและเก่าแก่ที่สุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังเป็น[[รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา|มหาวิทยาลัยลำดับที่ 7 ของประเทศไทย]] ปัจจุบันอายุ {{อายุ|2509|1|25}} ปี โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่นตั้งอยู่[[ถนนมิตรภาพ]] [[ตำบลในเมือง]] [[อำเภอเมืองขอนแก่น]] มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึง[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2509<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2509/A/008/62.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๐๘] </ref> และ[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]ทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2510 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 [[มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ]] จาก [[กระทรวงศึกษาธิการ]] และในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็น[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]] อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2558<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/066/25.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๖๖ ก หน้า ๒๕ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘</ref>
 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีทั้งสิ้น 5 พื้นที่โดยแบ่งได้เป็น วิทยาเขตหลักใน[[จังหวัดขอนแก่น]] วิทยาเขตหนองคายใน[[จังหวัดหนองคาย]] สถานีทดลองและฝึกอบรมเกษตรกรรมใน[[จังหวัดร้อยเอ็ด]] สถานีฟาร์มฝึกนักศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร์ใน[[จังหวัดเลย]] และสถานีทดลองและฝึกอบรม เขื่อนจุฬาภรณ์ใน[[จังหวัดชัยภูมิ]] และมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานที่ [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ทั้งฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยมในวิทยาเขตหลักและวิทยาเขตหนองคาย
 
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยขอนแก่นการจัดการเรียนการสอนนั้นครอบคลุมสาขา[[วิทยาศาสตร์]]และ[[เทคโนโลยี]] [[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] [[การเกษตร]] [[มนุษยศาสตร์]] และ[[สังคมศาสตร์]] [[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]][[อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย|จัดอันดับ]]ให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเลิศทางด้านการเรียนการสอน และดีเยี่ยมทางด้านการวิจัย<ref>[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา#แบบแบ่งกลุ่ม]]</ref> มหาวิทยาลัยขอนแก่นเปิดหลักสูตรรวมทั้งสิ้น 330 หลักสูตร แบ่งได้เป็นหลักสูตรระดับปริญญาเอก 72 หลักสูตร ปริญญาโท 129 หลักสูตร ปริญญาตรี 105 หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต 24 หลักสูตร โดยสัดส่วนสาขาวิชาที่เปิดสอนระดับปริญญาตรีกับระดับบัณฑิตศึกษา เท่ากับ 3.0 : 7.0 และเป็นหลักสูตรนานาชาติ/ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 11.21<ref name="หลักสูตร">[http://www.kku.ac.th/kku.php?page=curricurum หลักสูตรการศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น]</ref> มีนักศึกษาอยู่ในคณะและวิทยาลัยต่างๆ รวมแล้วประมาณ 40,000 คน และมีบุคลากรสายวิชาการ 2,075 คน มีตำแหน่งทางวิชาการ
เส้น 281 ⟶ 283:
 
|}
[[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]] ได้ประกาศผลอันดับมหาวิทยาลัย รางวัล “THE Social Impact Ranking 2019” หรือมหาวิทยาลัยที่ดำเนินภารกิจเพื่อสังคมที่สร้างผลกระทบต่อสังคมพบว่ามหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 101-200 ของโลก และอันดับ 1 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2562 <ref>ขอนแก่นลิงก์, [https://www.khonkaenlink.info/home/news/8111.html ม.ขอนแก่น มหาวิทยาลัยอันดับ 1 ประเทศไทย จากองค์กรโลก], 7 เมษายน 2562.</ref> เมื่อปี 2550 [[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]] เคยจัดอับดับสาขา [[เทคโนโลยี]] [[สังคมศาสตร์]] [[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] [[วิทยาศาสตร์]] และ [[ศิลปศาสตร์]]และ[[มนุษยศาสตร์]] ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยที่[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] อยู่ลำดับที่ 273 [[วิทยาศาสตร์]] อยู่ลำดับที่ 426 และด้าน[[สังคมศาสตร์]] อยู่ลำดับที่ 492 ส่วนในปี 2551 จัดอับดับให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ลำดับที่ 521 ของโลก และอันดับ 21 ของ[[อาเซียน]]<ref>[http://www.topuniversities.com/schools/data/school_profile/default/khonkaenuniversity/?from_search=true Khon Kaen University]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดย [[:en:Quacquarelli_Symonds|Quacquarelli Symonds]]<ref>http://www.topuniversities.com/</ref> ====
เว็บโอเมตริกซ์ ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยประจำปี พ.ศ. 2558 โดยจัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่างๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ของสถาบัน โดยพิจารณาจากจำนวน Link ที่เชื่อมโยงเข้าสู่เว็บนั้น ๆ จากเว็บภายนอกโดยวัดจากการสืบค้นด้วย [[Search Engine]] และนับจำนวนเอกสารตีพิมพ์ออนไลน์ในกลุ่มของไฟล์ .pdf .ps .ppt และ .doc และจำนวนเอกสารที่มีการอ้างอิง (Citation) แบบออนไลน์ผ่านกูเกิลสกอลาร์ ([[:en:Google_Scholar|Google Scholar]]) โดยจะจัดอันดับปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ เดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม โดยล่าสุดการจัดอันดับรอบที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 5 ของประเทศไทย และอันดับที่ 578 ของโลก
[[แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส]] หรือ British Quacquarelli Symonds (QS) เป็นบริษัทจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดแห่งหนึ่ง มีการจัดอันดับครอบคลุมในหลายมิติ เช่น การจัดอันดับเป็นระดับโลก (QS World University Rankings) ระดับทวีปเอเชีย (QS University Rankings: Asia) การจัดอันดับแยกตามคณะ (QS World University Rankings by Faculty) การจัดอันดับแยกตามรายวิชา (QS World University Rankings by Subject) การจัดอันดับคุณภาพบัณฑิต (QS Graduate Employability Rankings 2017) เป็นต้น<ref name=":2">QS Quacquarelli Symonds Limited. “Khon Kaen University.” ''เว็บไซต์ QS Quacquarelli Symonds .'' [https://www.topuniversities.com/universities/khon-kaen-university http://www.topuniversities.com/universities/khon-kaen-university#331315] (20 มิถุนายน 2563 ที่เข้าถึง).</ref>
 
'''น้ำหนักการชี้วัด'''
การแบ่งคะแนนจะต่างกันในแต่ละสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ซึ่งเป็นสาขาที่มีอัตราการเผยแพร่งานวิจัยสูง การวัดการอ้างอิงและh-index ก็จะคิดเป็น 25 เปอร์เซนต์ สำหรับแต่ละมหาวิทยาลัย ในทางกลับกันสาขาที่มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่น้อยกว่า เช่น สาขาประวัติศาสตร์ จะคิดเป็นร้อยละที่ต่ำกว่าคือ 15 เปอร์เซนต์ จากคะแนนทั้งหมด ในขณะเดียวกันสาขาศิลปะและการออกแบบ ซึ่งมีผลงานตีพิมพ์น้อยก็จะใช้วิธีการวัดจากผู้ว่าจ้างและการสำรวจด้านวิชาการ<ref>QS. QS World University Rankings: Methodology. September 11, 2015. http://www.topuniversities.com/university-rankings-articles/world-university-rankings/qs-world-university-rankings-methodology (accessed june 29, 2016).</ref>
 
'''QS Asia'''
# ชื่อเสียงทางวิชาการ (30 เปอร์เซนต์) เป้าหมายของตัวชี้วัดนี้เพื่อจะบอกว่ามหาวิทยาลัยใดมีชื่อเสียงในในระดับนานาชาติ
# การสำรวจผู้จ้างงาน (20 เปอร์เซนต์)
# อัตราส่วนของคณะต่อนักศึกษา (15 เปอร์เซนต์) วัดจากอัตราส่วนของบุคลากรทางการศึกษาต่อจำนวนนักศึกษา และการติดต่อและให้การสนับสนุนของบุคลากรที่มีต่อนักศึกษา
# การอ้างอิงในรายงาน (10 เปอร์เซนต์) และผลงานของคณะ (10 เปอร์เซนต์) เป็นการรวมทั้งงานที่อ้างอิงใน Scopus และ การตีพิมพ์ผลงานโดยคณะนั้น ๆ เอง
# บุคลากรระดับดุษฎีบัณฑิต (5 เปอร์เซนต์)
# สัดส่วนคณะที่เป็นหลักสูตรนานาชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) และนักศึกษาต่างชาติ (2.5 เปอร์เซนต์)
# สัดส่วนของรับนักศึกษาและเปลี่ยนที่เข้ามาศึกษา (2.5 เปอร์เซนต์) และการส่งนักศึกษาออกไปแลกเปลี่ยน (2.5 เปอร์เซนต์)<ref>QS. QS University Rankings: Asia methodology. 13 June 2016. http://www.topuniversities.com/asia-rankings/methodology (accessed 29 June 2016).</ref>
โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 8 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 160 ของเอเชียในปี 2563<ref>[https://www.topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2020 QS Asia Ranking 2020]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดย[[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]] ====
[[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]] ได้ประกาศผลอันดับมหาวิทยาลัย รางวัล “THE Social Impact Ranking 2019” หรือมหาวิทยาลัยที่ดำเนินภารกิจเพื่อสังคมที่สร้างผลกระทบต่อสังคมพบว่ามหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 101-200 ของโลก และอันดับ 1 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2562 <ref>ขอนแก่นลิงก์, [https://www.khonkaenlink.info/home/news/8111.html ม.ขอนแก่น มหาวิทยาลัยอันดับ 1 ประเทศไทย จากองค์กรโลก], 7 เมษายน 2562.</ref> เมื่อปี 2550 [[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]] เคยจัดอับดับสาขา [[เทคโนโลยี]] [[สังคมศาสตร์]] [[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] [[วิทยาศาสตร์]] และ [[ศิลปศาสตร์]]และ[[มนุษยศาสตร์]] ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยที่[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] อยู่ลำดับที่ 273 [[วิทยาศาสตร์]] อยู่ลำดับที่ 426 และด้าน[[สังคมศาสตร์]] อยู่ลำดับที่ 492 ส่วนในปี 2551 จัดอับดับให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ลำดับที่ 521 ของโลก และอันดับ 21 ของ[[อาเซียน]]<ref>[http://www.topuniversities.com/schools/data/school_profile/default/khonkaenuniversity/?from_search=true Khon Kaen University]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดยเว็บโอเมตริกซ์ ====
เว็บโอเมตริกซ์ ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยประจำปี พ.ศ. 2558 โดยจัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่างๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ของสถาบัน โดยพิจารณาจากจำนวน Link ที่เชื่อมโยงเข้าสู่เว็บนั้น ๆ จากเว็บภายนอกโดยวัดจากการสืบค้นด้วย [[Search Engine]] และนับจำนวนเอกสารตีพิมพ์ออนไลน์ในกลุ่มของไฟล์ .pdf .ps .ppt และ .doc และจำนวนเอกสารที่มีการอ้างอิง (Citation) แบบออนไลน์ผ่านกูเกิลสกอลาร์ ([[:en:Google_Scholar|Google Scholar]]) โดยจะจัดอันดับปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ เดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม โดยล่าสุดการจัดอันดับรอบที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 5 ของประเทศไทย และอันดับที่ 578 ของโลก
 
==== การจัดอันดับโดยSCImago Institutions Ranking (SIR) ====
SCImago Institutions Ranking (SIR) เป็น การจัดอันดับสถาบันที่มีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ซึ่งจะไม่ใด้นับเฉพาะมหาวิทยาลัย แต่จะนับสถาบันเฉพาะทางด้วย เช่น สถาบันเทคโนโลยี วิทยาลัย โรงพยาบาล เป็นต้น โดยล่าสุดปี พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ในอันดับ 5 ของประเทศไทย และอันดับที่ 389 ของโลก <ref> [https://www.scimagoir.com/methodology.php SIR Methodology General considerations]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดยCentrum voor Wetenschap en Technologie Studies ====
Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies (CWTS) หรือ CWTS Leiden University เป็นการจัดอันดับโดยอาศัยข้อมูลจากงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารที่มีอยู่ในฐานข้อมูลของ Web of Science ซึ่งเป็นฐานข้อมูลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งหมด 842 มหาวิทยาลัย จาก 53 ประเทศทั่วโลก ปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ในอันดับ 4 ของประเทศไทย และอันดับที่ 754 ของโลก <ref>[http://www.leidenranking.com CWTS Leiden Ranking]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดยNature Index ====
Nature Index จัดโดยวารสารในเครือ Nature Publishing Group ซึ่งเป็นวารสารทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีชื่อเสียงชั้นนำของโลก โดยการนับจำนวนบทความที่ตีพิมพ์ต่อปีในวารสารที่ในเครือ Nature Publishing Group โดยล่าสุดปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยขอนแก่นอยู่ในอันดับ 18 ของประเทศไทย และอันดับที่ 57 ของโลก
 
==== การจัดอันดับโดยwww.4icu.org ====
www.4icu.org หรือ 4 International Colleges & Universities (4icu.org) ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่จัดอันดับความนิยมของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยนานาชาติทั่วโลก ปรากฏว่าในปี 2558 มหาวิทยาลัยในประเทศไทยติดอันดับ 3 แห่งได้แก่ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] โดยได้ลำดับที่ 112, 160 และ 182 ตามลำดับ<ref>ASTVผู้จัดการออนไลน์, [http://www.rssthai.com/reader.php?t=education&r=13057 มข. ปลื้ม! เว็บไซต์ ติดอันดับ160 ของโลก อันดับ 24 ของเอเชีย], 13 มกราคม 2552 11:50 น.</ref>
 
== พื้นที่มหาวิทยาลัย ==