ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยมหาสารคาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Formcruz (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Vajiravitch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
| name = มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เส้น 6 ⟶ 7:
|caption = '''ตราโรจนากร'''<br>สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย
| ที่ตั้ง = • '''พื้นที่ขามเรียง''' (ม.ใหม่)<br/>ตำบลขามเรียง [[อำเภอกันทรวิชัย]] [[จังหวัดมหาสารคาม]]<br/>
• '''พื้นที่ในเมือง''' (ม.เก่า)<br/>ตำบลตลาด [[อำเภอเมืองมหาสารคาม|อำเภอเมืองมหาสารคาม]] [[จังหวัดมหาสารคาม]]<br/>
• '''พื้นที่นาสีนวล''' (ฟาร์มสัตว์)<br/>ตำบลนาสีนวล [[อำเภอกันทรวิชัย]] [[จังหวัดมหาสารคาม]]<br/>
• '''พื้นที่ปฏิบัติการสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช''' <br/>ตำบลเกิ้ง [[อำเภอเมืองมหาสารคาม|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดมหาสารคาม]]
| established = {{เทาเล็ก|วิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2511|3|27}}<br>{{เทาเล็ก|มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2517|6|28}}<br>{{เทาเล็ก|มหาวิทยาลัยมหาสารคาม}}<br>{{วันเกิดและอายุ|2537|12|9}}
| type = [[สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ]]
เส้น 31 ⟶ 34:
}}
 
'''มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' ({{lang-en|Mahasarakham University}}; [[อักษรย่อ]]: มมส. – MSU) เดิมชื่อ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม]] เป็น[[สถาบันอุดมศึกษามหาวิทยาลัยของรัฐ]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดมหาสารคาม]] ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2511 และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยในเมื่อปี พ.ศ. 2537 โดยการแยกตัวเป็นเอกเทศจากวิทยาเขตของ[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] มาเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยแห่งที่ 4 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ <ref name="ratchakitcha-MSU-2537">{{cite act
| title =
| trans_title =
เส้น 43 ⟶ 46:
| url = http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/A/054/1.PDF
| accessdate =26 มิถุนายน 2561
| ref = }}</ref> และเป็น[[มหาวิทยาลัยของรัฐ]][[รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา|แห่งที่ 21 ของประเทศไทย]] โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ทำการเรียนการสอนมาแล้วกว่า {{อายุ|2511|3|27}} ปี ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามอยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2537<ref>[https://meeting.msu.ac.th/meeting_2556/file/documents_51/doc_act/prb-msu37.pdf พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๓๗], ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๕๔ ก หน้า ๑ ๘ ธันวาคม ๒๕๓๗</ref>
 
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีทั้งสิ้น 24 พื้นที่ใน 1 วิทยาเขตภายในจังหวัดมหาสารคาม แบ่งเป็นพื้นที่การศึกษา 2 แห่งได้แก่ พื้นที่ขามเรียง ตำบลขามเรียง [[อำเภอกันทรวิชัย]] และพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด [[อำเภอเมืองมหาสารคาม|อำเภอเมือง]] โดยมีศูนย์กลางบริหารงานอยู่ที่พื้นที่ขามเรียง ปัจจุบันเปิดสำหรับการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท วิจัยและปริญญาเอกทดลองงาน รวมทั้งสิ้น2 177แห่งได้แก่ สาขาวิชาฟาร์มสัตว์และเรียนรู้การเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของ[[คณะสัตวแพทยศาสตร์ <ref name="msu-plan-2560" />{{rpมหาวิทยาลัยมหาสารคาม|5}} ใน 18 คณะสัตวแพทยศาสตร์]]และ[[คณะเทคโนโลยี 2 วิทยาลัย <ref name="msu-plan-2560" />{{rpมหาวิทยาลัยมหาสารคาม|69}} ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และคณะเทคโนโลยี]]ที่ตำบลนาสีนวล วิทยาศาสตร์การแพทย์ การเกษตร มนุษยศาสตร์[[อำเภอกันทรวิชัย]] และสังคมศาสตร์ แบ่งได้เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 87 หลักสูตร ปริญญาโท 56 หลักสูตร ปริญญาเอก 34 หลักสูตร มีพื้นที่ปฏิบัติการ[[บัณฑิตวิทยาลัยสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|บัณฑิตวิทยาลัยสถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช]]ดูแลการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและเอกที่ตำบลเกิ้ง [[อำเภอเมือง]] โดยมีศูนย์กลางบริหารงานของมหาวิทยาลัยอยู่ที่พื้นที่ขามเรียง นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยมหาสารคามยังมีการขยายโอกาสทางการศึกษาโดยการจัดโครงการศึกษาทางไกลที่ [[จังหวัดอุบลราชธานี]] [[จังหวัดนครราชสีมา]]และ[[จังหวัดอุดรธานี]] <ref name="msu-plan-2560" />{{rp|7}} และยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานที่ [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] ทั้ง[[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม)|ฝ่ายประถม]]และ[[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)|ฝ่ายมัธยม]] <ref name="msu-plan-2560" />{{rp|7}}
 
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหาสารคามเปิดการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งสิ้น 177 สาขาวิชา <ref name="msu-plan-2560" />{{rp|5}} ใน 18 คณะ 2 วิทยาลัย <ref name="msu-plan-2560" />{{rp|69}} ครอบคลุมทั้งสาขา[[วิทยาศาสตร์]]และ[[เทคโนโลยี]] [[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] [[การเกษตร]] [[มนุษยศาสตร์]] และ[[สังคมศาสตร์]] แบ่งได้เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 87 หลักสูตร ปริญญาโท 56 หลักสูตร ปริญญาเอก 34 หลักสูตร มี[[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|บัณฑิตวิทยาลัย]]ดูแลการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและเอก มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีนักศึกษาอยู่ในคณะและวิทยาลัยต่างๆ รวมแล้วประมาณ 40,000 คน มีบุคลากรสายวิชาการ 1,266 คน และบุคลากรสายสนับสนุน 2,321 คน<ref name="msu-plan-2560" />{{rp|4}} ทำการเรียนการสอนทั้งหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ภาคปกติและภาคพิเศษ
 
== ประวัติ ==
เส้น 285 ⟶ 290:
{{ดูเพิ่มที่|อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย|อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา|}}
นอกจาก[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การจัดอันดับมหาวิทยาลัย]]โดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน ได้แก่
 
==== การจัดอันดับโดย [[:en:Quacquarelli_Symonds|Quacquarelli Symonds]]<ref>http://www.topuniversities.com/</ref> ====
[[แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส]] หรือ British Quacquarelli Symonds (QS) เป็นบริษัทจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับมากที่สุดแห่งหนึ่ง มีการจัดอันดับครอบคลุมในหลายมิติ เช่น การจัดอันดับเป็นระดับโลก (QS World University Rankings) ระดับทวีปเอเชีย (QS University Rankings: Asia) การจัดอันดับแยกตามคณะ (QS World University Rankings by Faculty) การจัดอันดับแยกตามรายวิชา (QS World University Rankings by Subject) การจัดอันดับคุณภาพบัณฑิต (QS Graduate Employability Rankings 2017) เป็นต้น<ref name=":2">QS Quacquarelli Symonds Limited. “Mahasarakham University.” ''เว็บไซต์ QS Quacquarelli Symonds .'' [https://www.topuniversities.com/universities/mahasarakham-university http://www.topuniversities.com/universities/mahasarakham-university#331315] (20 มิถุนายน 2563 ที่เข้าถึง).</ref>
 
'''น้ำหนักการชี้วัด'''
การแบ่งคะแนนจะต่างกันในแต่ละสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ซึ่งเป็นสาขาที่มีอัตราการเผยแพร่งานวิจัยสูง การวัดการอ้างอิงและh-index ก็จะคิดเป็น 25 เปอร์เซนต์ สำหรับแต่ละมหาวิทยาลัย ในทางกลับกันสาขาที่มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่น้อยกว่า เช่น สาขาประวัติศาสตร์ จะคิดเป็นร้อยละที่ต่ำกว่าคือ 15 เปอร์เซนต์ จากคะแนนทั้งหมด ในขณะเดียวกันสาขาศิลปะและการออกแบบ ซึ่งมีผลงานตีพิมพ์น้อยก็จะใช้วิธีการวัดจากผู้ว่าจ้างและการสำรวจด้านวิชาการ<ref>QS. QS World University Rankings: Methodology. September 11, 2015. http://www.topuniversities.com/university-rankings-articles/world-university-rankings/qs-world-university-rankings-methodology (accessed june 29, 2016).</ref>
 
'''QS Asia'''
# ชื่อเสียงทางวิชาการ (30 เปอร์เซนต์) เป้าหมายของตัวชี้วัดนี้เพื่อจะบอกว่ามหาวิทยาลัยใดมีชื่อเสียงในในระดับนานาชาติ
# การสำรวจผู้จ้างงาน (20 เปอร์เซนต์)
# อัตราส่วนของคณะต่อนักศึกษา (15 เปอร์เซนต์) วัดจากอัตราส่วนของบุคลากรทางการศึกษาต่อจำนวนนักศึกษา และการติดต่อและให้การสนับสนุนของบุคลากรที่มีต่อนักศึกษา
# การอ้างอิงในรายงาน (10 เปอร์เซนต์) และผลงานของคณะ (10 เปอร์เซนต์) เป็นการรวมทั้งงานที่อ้างอิงใน Scopus และ การตีพิมพ์ผลงานโดยคณะนั้น ๆ เอง
# บุคลากรระดับดุษฎีบัณฑิต (5 เปอร์เซนต์)
# สัดส่วนคณะที่เป็นหลักสูตรนานาชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) และนักศึกษาต่างชาติ (2.5 เปอร์เซนต์)
# สัดส่วนของรับนักศึกษาและเปลี่ยนที่เข้ามาศึกษา (2.5 เปอร์เซนต์) และการส่งนักศึกษาออกไปแลกเปลี่ยน (2.5 เปอร์เซนต์)<ref>QS. QS University Rankings: Asia methodology. 13 June 2016. http://www.topuniversities.com/asia-rankings/methodology (accessed 29 June 2016).</ref>
โดยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 13 ของประเทศไทย(อันดับร่วม) และเป็นอันดับที่ 401-450 ของเอเชียในปี 2563<ref>[https://www.topuniversities.com/university-rankings/asian-university-rankings/2020 QS Asia Ranking 2020]</ref>
 
==== การจัดอันดับโดย Webometrics ====
เส้น 359 ⟶ 380:
 
=== การก่อตั้งคณะ ===
หลักสูตรในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีหลักสูตรที่เปิดสอนในแต่ละคณะทั้งหมดประมาณ 80 หลักสูตรโดยจะมีการแบ่งหลักสูตรออกเป็น หลักสูตรภาคปกติ หลักสูตรภาคพิเศษ หลักสูตรนานาชาติ หลักสูตรต่อเนื่อง และหลักสูตรสาขาวิชาร่วม โดยแต่ละคณะจะเป็นผู้กำหนดรายวิชาในแต่ละสาขาวิชาที่เปิดสอน<br />
 
{| class="toccolours" width=100%
เส้น 518 ⟶ 539:
*อาคารเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
* โรงอาหารกลาง เขตพื้นที่ในเมือง
* หอพักนิสิต มีทั้งหมด 11 หอพัก ได้แก่ หอพักราชพฤกษ์ หอพักชัยพฤกษ์ หอพักปฐมเวศน์ หอพักการเวก หอพักการะเกด หอพักชวนชม หอพักพุทธรักษา หอพักชงโค หอพักอินทรนิล หอพักเบญจมาศ และหอพักปาริชาติ<ref name=":0">[https://dorm.msu.ac.th/home1/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2/ หอพักมหาวิทยาลัย]. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562</ref>
 
=== พื้นที่ขามเรียง หรือ ม.ใหม่ ===
ตั้งอยู่ที่ ตำบลขามเรียง [[อำเภอกันทรวิชัย]] [[จังหวัดมหาสารคาม]] เป็นพื้นที่ใหม่ที่ขยายเพื่อรองรับการเติบโตของมหาวิทยาลัย มีพื้นที่ทั้งหมด 1,300 ไร่<ref name="msu-plan-2560" /> เริ่มแรกนั้นมีเพียงอาคารราชนครินทร์เป็นอาคารเรียนแรก ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางบริหารงานมหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นที่ตั้งหน่วยงานและสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่
 
==== คณะ ====
เส้น 568 ⟶ 588:
*ตลาดน้อย
{{ล่าง}}
 
*หอพักนิสิต โดยหอพักนิสิตในเขตพื้นที่ขามเรียงจะตั้งชื่อตามอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม มีทั้งหมด 10 หอพัก ได้แก่ หอพักกันทรวิชัย หอพักวาปีปทุม หอพักกุดรัง หอพักยางสีสุราช หอพักบรบือ หอพักเชียงยืน หอพักพยัคฆภูมิพิสัย หอพักโกสุมพิสัย หอพักนาดูน และ หอพักชื่นชม <ref name=":0" />
 
=== พื้นที่นาสีนวล ===
เส้น 582 ⟶ 600:
 
==ชีวิตในมหาวิทยาลัย ==
 
=== หอพักนิสิต ===
หอพักนิสิต มีทั้งหมด 21 หอพัก แบ่งได้เป็น
* '''หอพักนิสิตในเมือง''' มีทั้งหมด 11 หอพักหอ ได้แก่ หอพักราชพฤกษ์ หอพักชัยพฤกษ์ หอพักปฐมเวศน์ หอพักการเวก หอพักการะเกด หอพักชวนชม หอพักพุทธรักษา หอพักชงโค หอพักอินทรนิล หอพักเบญจมาศ และหอพักปาริชาติ<ref name=":0">[https://dorm.msu.ac.th/home1/%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2/ หอพักมหาวิทยาลัย]. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562</ref>
* '''หอพักนิสิตขามเรียง''' มีทั้งหมด 10 หอ โดยหอพักนิสิตในเขตพื้นที่ขามเรียงจะตั้งชื่อตามอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม มีทั้งหมด 10 หอพัก ได้แก่ หอพักกันทรวิชัย หอพักวาปีปทุม หอพักกุดรัง หอพักยางสีสุราช หอพักบรบือ หอพักเชียงยืน หอพักพยัคฆภูมิพิสัย หอพักโกสุมพิสัย หอพักนาดูน และ หอพักชื่นชม <ref name=":0" />
 
=== การเดินทางมามหาวิทยาลัย ===