ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:LuporumĀter/ทดลองเขียน 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สภาพอากาศ}}
'''ฤดูหนาว''' หรือ '''เหมันตฤดู''' เป็น[[ฤดู]]ที่มีอากาศหนาวที่สุดในปี ฤดูหนาวใน[[เขตอบอุ่น]]และ[[เขตหนาว]]ของซีกโลกเหนือ โดยทั่วไปจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 22 ธันวาคม ถึง 22 มีนาคม ของทุกปี เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะนี้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือได้พัดปกคลุมประเทศไทย ทำให้อุณหภูมิลดลงทั่วไป อากาศจะหนาวเย็น ยกเว้นภาคใต้ของประเทศไทยอุณหภูมิจะลดลงได้บ้างเป็นครั้งคราวและจะมีฝนตกตามชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงนราธิวาส
[[ไฟล์:Darwin 1824.jpg|thumb|พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย]]
'''ฤดูฝน''' หรือ '''วัสสานฤดู''' เป็นเป็นช่วงที่มีปริมาณฝนโดยเฉลี่ยตลอดทั้งเดือนเกินกว่า 60 มิลลิเมตร มากกว่า 1 เดือนขึ้นไป<ref>{{cite web|url=https://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.pdf|title=Updated world map of the K ̈oppen-Geiger climate classification|publisher=Hydrology and Earth System Sciences|author=M. C. Peel |accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> และมีปริมาณฝนโดยรวมสูงสุดของปี โดยส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมสำหรับในเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งรวมถึง[[ประเทศไทย]] ฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจาก[[การควบแน่น]] ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย
==ลักษณะ==
ฝนในฤดูฝนนั้น เกี่ยวข้องกับกระแสลมที่เรียกว่าลม[[มรสุม]] ซึ่งส่งผลต่อรูปแบบของการเกิดฝนของพื้นที่ใน[[เขตร้อน]]และ[[กึ่งเขตร้อน]] โดยฝนในฤดูฝนนี้ ส่วนมากมักจะตกในช่วงบ่ายแก่ๆถึงค่ำ<ref>{{cite web|url=https://www.gotoknow.org/posts/191815|title=022 ทำไมฝนชอบกระหน่ำหลังเลิกงาน?|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> เนื่องมาจากแสงอาทิตย์ ที่ส่องในช่วงกลางวันทำให้พื้นดินร้อนขึ้น แล้วทำให้อากาศที่มีความชื้นสูงจากการพัดเอาความชื้นจาก[[ทะเลอันดามัน]]ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มาสู่ประเทศไทย ลอยตัวสูงขึ้นและก่อตัวเป็นเมฆใน[[ชั้นบรรยากาศ]]<ref>{{cite web|url=https://weather.rtaf.mi.th/observation/library_files/Read%20botkwam_Rain.html|title=ฝน หรือน้ำฝน (Rain)|publisher=กองข่าวอากาศ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>ชั้น[[โทรโปสเฟียร์]]ช่วงบน ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ โดยจะมีการสะสมหยดน้ำไปเรื่อยๆ เมื่อสะสมจนถึงจุดหนึ่งที่บรรยากาศรับน้ำหนักไอน้ำไม่ไหว ก็จะตกลงมาเป็นฝน ซึ่งฝนชนิดนี้เรียกว่า ฝนที่เกิดจาก[[การพาความร้อน]] (convective rain) ซึ่งมักจะตกพอดีกับช่วงเย็น และมักมีการกระจายของฝนเป็นหย่อมๆไปทั่ว
 
{{ฤดู}}
นอกจากการพาความร้อนแล้ว ฝนในฤดูฝนยังสามารถมาจากการพาดผ่านของร่องความกดอากาศต่ำ (Low-pressure through) หรือชื่อทางวิชาการว่า [[แนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน]] (Intertropical Convergence Zone, ITCZ) <ref>{{cite web|url=https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/admin/upload/245_61-66.pdf|title=ฝนเอยทำไมถึงตก?|publisher=ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> ซึ่งเกิดจากการประทะหรือพัดสอบกันของ[[ลมค้า]]ตะวันออกเฉียงใต้จากซีกโลกใต้กับลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือจากซีกโลกเหนือ ซึ่งทำให้เกิดการยกตัวของอากาศขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจนเป็นสาเหตุให้เกิดฝนตกชุกในบริเวณที่มีการพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้ สำหรับฝนชนิดนี้ มีชื่อเรียกว่า ฝนที่เกิดจากแนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone Rain)<ref>{{cite web|url=https://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=3605|title=ฤดูกาล (Seasons)|publisher=สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
 
[[หมวดหมู่:ฤดู|ฝนหนาว]]
สำหรับในประเทศไทย การพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนในบริเวณภาคใต้ แล้วจึงเริ่มเกิดการเคลื่อนไปพาดในแถบภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนตามลำดับ จากนั้น ประมาณปลายเดือนมิถุนายนจะเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านบริเวณประเทศจีนตอนใต้ซึ่ง ทำให้ปริมาณฝนลดลงในช่วงดังกล่าว ซึ่งกินเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ แต่บางครั้งก็อาจจะยาวนานถึง 1 เดือนได้ ซึ่งเรียกปรากฎการณ์นี้ว่าว่า ฝนทิ้งช่วง จากนั้นประมาณเดือนสิงหาคม ร่องความกดอากาศต่ำก็จะเริ่มเลื่อนลงมาพาดผ่านประเทศไทยอีกครั้ง ทำให้เกิดฝนตกชุกต่อเนื่องอีกครั้ง<ref>{{cite web|url=https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=23|title=ฤดูกาลของประเทศไทย|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
[[หมวดหมู่:ฝนฤดูหนาว]]
 
นอกจากนี้แล้ว พายุหมุนเขตร้อนก็ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการก่อฝนในฤดูฝน โดยมักจะมีช่วงในการเกิดประมาณเดือนมิถุนายน-ธันวาคม ฝนที่เกิดจากพายุหมุนเขตร้อนนี้ จะมีลักษณะการตกเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมบริเวณที่พายุเคลื่อนผ่าน ประกอบกับมีลมพัดแรงด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/phenomenon/tropical-storm|title=พายุหมุนเขตร้อน|publisher=ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> อย่างไรก็ตาม ฝนในเขตใกล้เส้นศูนย์สูตร หรือในเขต[[ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น]] จะมีปริมาณฝนในแต่ละเดือนที่สม่ำเสมอตลอดทั้งปี<ref>{{cite web|url=http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/geo/86.htm|title=เขตภูมิอากาศของโลก|publisher=โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
==ผลกระทบ==
ในด้าน[[การเกษตร]] การเพาะปลูกจะให้ผลดีเป็นอย่างมากเนื่องมาจากปริมาณฝนที่มาก<ref>{{cite web|url=http://www.arcims.tmd.go.th/Research_files/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A.pdf|title=ประโยชน์ของฝนที่มีต่อพืช|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> แต่ปริมาณการชะล้างหน้าดินก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ในแง่ของคุณภาพอากาศ ในฤดูฝนเป็นช่วงที่อากาศมีคุณภาพมากที่สุด <ref>Mei Zheng (2000). [http://digitalcommons.uri.edu/dissertations/AAI9989458/ The sources and characteristics of atmospheric particulates during the wet and dry seasons in Hong Kong.] University of Rhode Island. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563.</ref> เนื่องจากการพัดผ่านของลมมรสุมและการชะล้างมลพิษในบรรยากาศจากการตกของฝน
 
การที่ฝนตกอย่างต่อเนื่องในฤดูฝน ทำให้เพิ่มโอกาสในการเกิด[[น้ำท่วมฉับพลัน]] น้ำป่าไหลหลาก และ[[ดินถล่ม]]ได้ อันเนื่องมาจากปริมาณน้ำที่มากขึ้นจนดินไม่สามารถอุ้มน้ำได้อีกต่อไป รวมทั้งการที่น้ำในแม่น้ำสูงจนเกินระดับตลิ่ง รวมทั้งการที่[[พายุหมุนเขตร้อน]]ขึ้นฝั่งก็สร้างความเสียหายอย่างมากแก่บริเวณที่พายุขึ้นฝั่งเช่นกัน<ref>{{cite web|url=https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=70|title=อุทกภัย(Flood)|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
 
{{ฤดู}}
[[หมวดหมู่:ฤดู|ฝน]]
[[หมวดหมู่:ฝน]]
==อ้างอิง==