ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะเต๊ะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gaming317 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8915523 สร้างโดย Gaming317 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 21:
คำว่า "สะเต๊ะ" เชื่อว่ามีที่มาจากประเทศจีนในอดีต โดยมาจาก[[ภาษาหมิ่นใต้]]คำว่า "แซบัก" ([[ภาษาจีน|จีน]]: 三疊肉; [[พินอิน]]: ''sae bak'') หมายถึง "เนื้อสามชิ้น" <ref >{{Cite book |title=Willis's Singapore Guide |last=Willis |first=Alfred Charles |publisher=Singapore : Advertising and Publicity Bureau Ltd. |pages=149 |year=1934}}</ref> อย่างไรก็ตามนักวิชาการร่วมสมัยกล่าวว่าคำว่า "สะเต๊ะ" ในภาษาอังกฤษมาจาก[[ภาษาอินโดนีเซีย]]: "ซาเต" (sate) และ[[ภาษามลายู]]: "ซาเต" (saté) หรือ "ซาไท" (satai) ทั้งสองอย่างอาจจะมีที่มาจาก[[ภาษาทมิฬ]] <ref>[http://www.thefreedictionary.com/satay Satay], The Free Dictionary</ref>
 
สะเต๊ะของอินโดนีเซียอาจได้รับอิทธิพลจากเคบับ[[คาบับ]]ที่เป็นอาหารพื้นเมืองของ[[อินเดีย]]ภาคเหนือ ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก[[ชาวเตอร์ก]]อีกต่อหนึ่ง ตำรับดั้งเดิมของ[[ชาวตุรกี]]เป็นเนื้อแพะหั่นเป็นชิ้นหมักแล้วเสียบเหล็กแหลมย่างไฟ [[ชาวเปอร์เซีย]]และ[[ชาวอินเดีย]]รับมาดัดแปลง อาจใช้เนื้อบดหรือเนื้อทั้งชิ้น จะเสียบหรือไม่เสียบไม้ก็ได้ เมื่อแพร่หลายมาถึงมลายู-ชวาจึงกลายเป็นสะเต๊ะอย่างที่เห็นในปัจจุบัน<ref>อาหารมุสลิม. กทม. แสงแดด. 2547 หน้า 13</ref> โดยร้านขายหมูสะเต๊ะร้านแรกในประเทศไทย คือ ร้านจึงอังลัก ย่าน[[เยาวราช]] ข้างโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรี<ref>หน้า 24, ''แวะชิม...หมูสะเต๊ะเจ้าเก่าเฉลิมบุรีที่สืบทอดมาเกือบ 100 ปี ที่ร้าน 'จึงอักลัก' ''. "แม่ลิ้นจี่พาชิม". '''บ้านเมือง''': วันศุกร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2546</ref> ปัจจุบันได้ย้ายร้านไปที่ย่าน[[ถนนพระราม 4]] เขตปทุมวัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สะเต๊ะ"