ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น}}
'''ไฟ''' เป็นการออกซิเดชันของวัสดุอย่างรวดเร็วในกระบวนการเผาไหม้ชนิดคายความร้อนซึ่งปล่อยความร้อน แสงสว่าง และผลิตภัณฑ์มากมายจากปฏิกิริยา กระบวนการออกซิเดชันที่ช้ากว่านั้น เช่น การขึ้นสนิม หรือการย่อยอาหาร ไม่นับรวมในนิยามนี้
[[ไฟล์:Fire02.jpg|thumb|ไฟ|alt=|220x220px]]
 
'''ไฟ''' เป็น[[ปฏิกิริยารีดอกซ์|การออกซิเดชัน]]ของวัสดุอย่างรวดเร็วในกระบวนการกระบวน[[การเผาไหม้]]ชนิด[[คายความร้อน]]ซึ่งปล่อย[[ความร้อน]] [[แสงสว่าง]] และ[[ผลิตภัณฑ์ (เคมี)|ผลิตภัณฑ์]]มากมายจากปฏิกิริยา<ref>{{Cite journal | url = http://www.nwcg.gov/pms/pubs/glossary/pms205.pdf | title = Glossary of Wildland Fire Terminology | date = November 2009 | publisher = National Wildfire Coordinating Group | accessdate = 2008-12-18}}</ref> กระบวนการออกซิเดชันที่ช้ากว่านั้น เช่น การขึ้น[[สนิม]] หรือ[[การย่อยอาหาร]] ไม่นับรวมในนิยามนี้
ไฟร้อนเนื่องจากการแปลงพันธะคู่อ่อนของโมเลกุลของออกซิเจน (O<sub>2</sub>) ไปเป็นพันธะที่แข็งแกร่งกว่าทำให้เกิดคนเป็นผลิตภัณฑ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ปล่อยพลังงานออกมา (418 กิโลจูลต่อออกซิเจน 32 กรัม) พลังงานพันธะของเชื้อเพลิงมีส่วนเพียงเล็กน้อย ที่ปฏิกิริยาเผาไหม้ เปลวไฟจะเกิดขึ้น ณ จุดจุดหนึ่งที่เรียกว่า จุดเผาไหม้ (Ignition point) เปลวไฟ คือไฟในส่วนที่มองเห็นได้ เปลวไฟมีส่วนประกอบหลัก ๆ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ ออกซิเจน และไนโตนเจน เมื่อไฟร้อนเพียงพอ แก๊สชนิดต่าง ๆ อาจเปลี่ยนเป็นไอออนและผลิตเป็นพลาสมาได้ สีและความแรงของไฟอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสสารที่ทำให้เกิดแสง และมลทินภายนอก
 
ไฟร้อนเนื่องจากการแปลงพันธะคู่อ่อนของโมเลกุลของออกซิเจน (O<sub>2</sub>) ไปเป็นพันธะที่แข็งแกร่งกว่าทำให้เกิดคนเป็นผลิตภัณฑ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ปล่อยพลังงานออกมา (418 กิโลจูลต่อออกซิเจน 32 กรัม) พลังงานพันธะของเชื้อเพลิงมีส่วนเพียงเล็กน้อย<ref name="Schmidt-Rohr 15">Schmidt-Rohr, K. (2015). "Why Combustions Are Always Exothermic, Yielding About 418 kJ per Mole of O<sub>2</sub>" ''J. Chem. Educ.'' '''92''': 2094-2099. http://dx.doi.org/10.1021/acs.jchemed.5b00333</ref> ที่ปฏิกิริยาเผาไหม้ เปลวไฟจะเกิดขึ้น ณ จุดจุดหนึ่งที่เรียกว่า จุดเผาไหม้ (Ignition point) เปลวไฟ คือไฟในส่วนที่มองเห็นได้ เปลวไฟมีส่วนประกอบหลัก ๆ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ ออกซิเจน และไนโตนเจน เมื่อไฟร้อนเพียงพอ แก๊สชนิดต่าง ๆ อาจเปลี่ยนเป็นไอออนและผลิตเป็น[[พลาสมา (สถานะของสสาร)|พลาสมา]]ได้<ref>{{cite web | url = http://chemistry.about.com/od/chemistryfaqs/f/firechemistry.htm | title = What is the State of Matter of Fire or Flame? Is it a Liquid, Solid, or Gas? | publisher = About.com | accessdate = 2009-01-21 | last = Helmenstine | first = Anne Marie | postscript = <!--None-->}}</ref> สีและความแรงของไฟอาจแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสสารที่ทำให้เกิดแสง และมลทินภายนอก
ไฟในรูปแบบที่พบมากที่สุดสามารถกลายเป็นมหาอัคคีภัยได้ ซึ่งเป็นทำให้เกิดอันตรายจากการเผาไหม้ ไฟเป็นกระบวนการที่สำคัญที่มีผลต่อระบบนิเวศรอบโลก ผลกระทบในด้านดีคือการกระตุ้นการเจริญเติบโตและบำรุงรักษาระบบนิเวศได้หลากหลาย
 
ไฟในรูปแบบที่พบมากที่สุดสามารถกลายเป็น[[มหาอัคคีภัย]]<!--ศัพท์บัญญัติของ conflagration-->ได้ ซึ่งเป็นทำให้เกิดอันตรายจากการเผาไหม้ ไฟเป็นกระบวนการที่สำคัญที่มีผลต่อระบบนิเวศรอบโลก ผลกระทบในด้านดีคือการกระตุ้นการเจริญเติบโตและบำรุงรักษาระบบนิเวศได้หลากหลาย
 
การควบคุมไฟเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ถือได้ว่าเป็นความสำเร็จก้าวสำคัญหนึ่งในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ ตั้งแต่ การทำอาหาร การผลิตสิ่งของ การฆ่าเชื้อโรค การแปลงพลังงานเป็นงาน และการดับไฟที่ไม่พึงปรารถนา เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ไฟ| ]]
{{โครงธรรมชาติ}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไฟ"