ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไลโซโซม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Organelle diagram}}
'''ไลโซโซม''' ({{lang-en|Lysosome}}; {{IPAc-en|ˈ|l|aɪ|s|ə|ˌ|s|oʊ|m}}) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]มีเยื่อหุ้มที่พบใน[[เซลล์]]สัตว์จำนวนมาก<ref>สำหรับประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับออร์แกเนลล์ที่มีหน้าที่ใกล้เคียงกันในเซลล์พืชที่เรียกว่า[[vacuole|แวคิวโอล]] ดูเพิ่มที่ [[:en:Lysosome#Controversy in botany]]</ref> ไลโซโซมมีลักษณะเป็น[[Vesicle (biology and chemistry)|เวซิเคิล]]ทรงกลมที่ภายในบรรจุ[[เอไซม์เอนไซม์]][[ไฮโดรไลซิส|ไฮโรไฮโดรไลติก]]ที่สามารถย่อยสลาย[[ชีวโมเลกุล]]หลาย ๆ ชนิดได้ ไลโซโซมหนึ่ง ๆ นั้นมีองค์ประกอบเฉพาะของตน ทั้ง[[membrane protein|โปรตีนเยื่อหุ้ม]] และโปรตีน[[lumen (anatomy)|ลูเมียล]] (โปรตีนในลูเมน) ของมัน ลูเมนของไลโซโซมมีค่า pH อยู่ที่ประมาณ 4.5–5.0<ref>{{cite journal | vauthors = Ohkuma S, Poole B | title = Fluorescence probe measurement of the intralysosomal pH in living cells and the perturbation of pH by various agents | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume = 75 | issue = 7 | pages = 3327–31 | date = July 1978 | pmid = 28524 | pmc = 392768 | doi=10.1073/pnas.75.7.3327}}</ref> ซึ่งเป็นภาวะกรดเบสที่เหมาะสมที่สุดต่อการทำงานของเอนไซม์ที่ใช้ในการไฮโดรไลซิส อุปมาอุปไมยได้กับกระบวนการใน[[กระเพาะ]]ของมนุษย์ นอกจากหน้าที่ในการย่อยสลายพอลีเมอร์ต่าง ๆ แล้ว ไลโซโซมยังมีหน้าที่ในกระบวนการของเซลล์หลายประการ เช่น การหลั่งสาร (secretion), การซ่อมแซม[[plasma membrane|เยื่อหุ้มพลาสมา]], กระบวนการ[[apoptosis|อะพอพทอซิส]] (apoptosis), [[cell signaling|การส่งสัญญาณระหว่างเซลล์]] (cell signaling) และการ[[เมแทบอลิซึม|เมตาบอลิซึมพลังงาน]]<ref>{{cite journal | vauthors = Settembre C, Fraldi A, Medina DL, Ballabio A | title = Signals from the lysosome: a control centre for cellular clearance and energy metabolism | journal = Nature Reviews Molecular Cell Biology | volume = 14 | issue = 5 | pages = 283–96 | date = May 2013 | pmid = 23609508 | pmc = 4387238 | doi = 10.1038/nrm3565 }}</ref>
 
[[File:Lysosomes Digestion.svg|thumb|ภาพแสดงขั้นตอนการย่อยสารของไลโซโซม ขั้นแรกคือการนำสารเข้ามาในเซลล์ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ในฟู๊ดแวคคิวโอล (เรียกกระบวนการนี้ว่า “เอ็นโดไซโตซิส”) ขั้นที่สอง ไลโซโซมซึ่งมีเอไซม์ไฮโดรไลติกที่กระตุ้นแล้วเข้ามา พร้อมกับฟู๊ดแวคคิวโอลเคลื่อนที่ออกจากเยื่อหุ้มเซลล์ ขั้นตอนที่สาม ไลโซโซมรวมเข้ากับฟู๊ดแวคคิวโอลและเอนไซม์ไฮโดรไลติกเคลื่อนที่เข้าไปในฟู๊ดแวคคิวโอล และในขั้นตอนที่สี เอนไซม์ไฮโดรไลติกได้ย่อยสารภายในฟู๊ดแวคคิวโอล<ref>{{cite book | vauthors = Holtzclaw FW, etal | title = AP* Biology: to Accompany Biology | edition = 8th AP | publisher = Pearson Benjamin Cummings | date = 2008 }}</ref>]]