ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วายฟาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15:
วิก เฮส์ผู้เป็นประธานของ IEEE 802.11 เป็นเวลา 10 ปีและเรียกว่า "บิดาแห่ง Wi-Fi" ได้มีส่วนร่วมในการออกแบบ 802.11b และ 802.11a มาตรฐานเริ่มต้นภายใน IEEE.
 
นักวิทยุ-ดาราศาสตร์ชาวออสเตรเลียชื่อ จอห์น โอ ซัลลิแวนได้พัฒนาสิทธิบัตรที่สำคัญที่ใช้ใน Wi-Fi ที่เป็นผลพลอยได้ในโครงการวิจัย CSIRO "การทดลองที่ล้มเหลวในการตรวจสอบหาการระเบิดหลุมดำขนาดเล็กที่มีขนาดเท่าหนึ่งอนุภาคอะตอม"<ref>Phil Mercer (August 11, 2012). "Wi-fi, dual-flush loos and eight more Australian inventions". BBC News.</ref> ในปี ค.ศ. 1992 และ ปี ค.ศ. 1996 องค์กรของออสเตรเลียชื่อ CSIRO (the Australian Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation) ได้รับสิทธิบัตร<ref>EP 0599632</ref>สำหรับวิธีการที่ในภายหลังใช้ใน Wi-Fi ในการ "กำจัดรอยเปื้อน"ของสัญญาณ.<ref>Sygall, David (December 7, 2009). "How Australia's top scientist earned millions from Wi-Fi". The Sydney Morning Herald.</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1999 Wi-Fi Alliance จัดตั้งขึ้นเป็นสมาคมการค้าเจ้าของเครื่องหมายการค้า Wi-Fi ซึ่งผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ที่ใช้ Wi-Fi จะมีเครื่องหมายนี้
 
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 14 บริษัทเทคโนโลยีตกลงที่จะจ่าย 250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้กับ CSIRO สำหรับการละเมิดสิทธิบัตรของ CSIRO<ref>Moses, Asher (June 1, 2010). "CSIRO to reap 'lazy billion' from world's biggest tech companies". The Age (Melbourne). Retrieved 8 June 2010.</ref> สิ่งนี้ทำให้ Wi-Fi กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์ ของออสเตรเลีย<ref>World changing Aussie inventions – Australian Geographic</ref> แม้ว่าจะเป็นเรื่องของการโต้เถียงกันอยู่<ref>How the Aussie government “invented WiFi” and sued its way to $430 million | Ars Technica</ref><ref>"Australia's Biggest Patent Troll Goes After AT&T, Verizon and T-Mobile". CBS News.</ref> ในปี ค.ศ. 2012 CSIRO ยังชนะคดีและจะได้รับเงินชดเชยเพิ่มเติม 220 ล้าน$ สำหรับการละเมิดสิทธิบัตร Wi-Fi กับบริษัทระดับโลกในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แก่ CSIRO ที่คาดว่าจะมีมูลค่าเพิ่มอีก $ 1 พันล้านดอลลาร์<ref>Moses, Asher (June 1, 2010). "CSIRO to reap 'lazy billion' from world's biggest tech companies". The Age (Melbourne). Retrieved 8 June 2010.</ref><ref>Australian scientists cash in on Wi-Fi invention: SMH 1 April 2012</ref><ref>CSIRO wins legal battle over Wi-Fi patent: ABC 1 April 2012</ref>
 
== ลักษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วายฟาย"