ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรัณยู วงษ์กระจ่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 45:
ศรัณยูเป็นพระเอกที่มีช่วงการครองความนิยมยาวนานที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย เริ่มผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรกประมาณปี พ.ศ. 2524 โดยได้รับการชักชวนให้ถ่ายแบบนิตยสารดิฉัน และมีผลงานเดินแบบ จากนั้นศรัณยูจึงได้มีผลงานพิธีกรรายการโทรทัศน์ เสียงติดดาว และ ยิ้มใส่ไข่<ref name="always"/> หลังสำเร็จการศึกษา ศรัณยูมีผลงานนำแสดงละครโทรทัศน์เรื่องแรกในปี 2526 คือเรื่อง [[เลือดขัตติยา]] ซึ่งดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ [[ทมยันตี]] สร้างโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง โดยศรัณยูรับบท อโณทัย คู่กับ [[วาสนา สิทธิเวช]] รับบท ดารา ร่วมด้วย นพพล โกมารชุน อุทุมพร ศิลาพันธ์ และภิญโญ ทองเจือ แม้ว่าจะกำหนดวันเวลาออกอากาศทางช่อง 3 ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ 21.00 น. แล้วแต่ก็ไม่ได้รับอนุมัติให้ออกอากาศ ด้วยมีเนื้อหาที่อาจกระทบต่อความมั่นคง<ref>{{cite web|title=พริกกะเกลือ : การเมืองแบนละคร?|url=http://www.komchadluek.net/news/detail/148832|website=คมชัดลึก}}</ref>
 
ผลงานละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศเรื่องแรกของศรัณยูจึงเป็นผลงานละครของ [[มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช]] เรื่อง [[เก้าอี้ขาวในห้องแดง]] ออกอากาศ 9 กุมภาพันธ์ 2527 ทางช่อง 3 จากบทประพันธ์ในชื่อเดียวกันของ [[สุวรรณี สุคนธา]] ซึ่งเป็นเรื่องราวรักสามเส้าและปัญหาชีวิตวัยรุ่น ร่วมกับ [[นพพล โกมารชุน]] [[มยุรา ธนบุตร]] [[อุทุมพร ศิลาพันธ์]] และ [[ยุรนันท์ ภมรมนตรี]] เก้าอี้ขาวในห้องแดง เป็นละครที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงจากเนื้อหา ฝีมือการแสดง และรูปแบบที่นำสมัย เกิดกระแสนิยมเหล่านักแสดง เสื้อผ้า ทรงผมของนักแสดงหลัก เพียงเรื่องแรกก็ทำให้ศรัณยูมีชื่อเสียงในวงกว้าง<ref name="always"/> ในปีเดียวกัน ศรัณยูมีผลงานละครโทรทัศน์กับช่อง 7 โดย [[ดาราวิดีโอ]] เรื่อง [[บ้านสอยดาว]] จากบทประพันธ์ของ [[โบตั๋น]] ออกอากาศ 28 กันยายน 2527 - 26 มกราคม 2528 โดยรับบท เอื้อตะวัน ร่วมด้วย [[มยุรา ธนบุตร]] [[อุทุมพร ศิลาพันธ์]] และ [[ธงไชย แมคอินไตย์]] จากนั้นมีผลงานต่อเนื่องกับช่อง 7 ปี 2528 กับเรื่อง [[ระนาดเอก]] ออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 21.00น. แม้จะเป็นละครเกี่ยวกับดนตรีไทย แต่มีการผูกเรื่องได้สนุกสนานกับการประชันกันของบรมครูทางระนาด 2 สาย จากรุ่นบรมครูถ่ายทอดมาสู่รุ่นศิษย์ ละครเรื่องนี้สร้างชื่อให้ ศรัณยู ได้แจ้งเกิดในวงการละคร พร้อมกับนางเอก [[สินจัย หงษ์ไทย]] ที่ลงละครเรื่องนี้เป็นเรื่องแรก ความดังของละครเรื่องนี้เล่ากันว่า พวกปี่พาทย์ที่ทำงานศพตามวัดต่างๆถ้าคืนไหนมีงานประโคมก็จะต้องตั้งโทรทัศน์ไว้ข้างวงดนตรีเลยทีเดียว<ref>{{cite web|title=ละครเรื่องระนาดเอก
|url=https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1091568524193826&id=546962821987735|website=MUE 101 Survey of Thai Music}}</ref> จากนั้นในปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้ให้ ศรัณยู รับบทคู่กับนางเอกยอดนิยม [[มนฤดี ยมาภัย]] เป็นครั้งแรกในละครค่าย [[ดาราวิดีโอ]] เรื่อง [[มัสยา]] ออกอากาศ 25 ตุลาคม 2528 - 1 มีนาคม 2529 ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอันมาก ด้วยความพีคของตอนอวสานทำให้ช่องขยายวันออกอากาศจากศุกร์-เสาร์เป็น ศุกร์-เสาร์-อาทิตย์
 
ปี 2529 ศรันยูมีผลงานทางช่อง 3 และ ช่อง 7 ช่องละ 1 เรื่อง โดยทางช่อง 7 เป็นละครค่ายกันตนา เรื่อง [[จิตรกร]] ศรัณยูรับบทจิตรกรโรคจิต คู่กับนางเอก ปวีณา ชารีฟสกุล กับเรื่องราวฆาตกรรมซ่อนเงื่อน ในขณะที่ทางช่อง 3 ศรัณยูได้รับบท กามนิต ในละครแนวภารตะ [[กามนิต-วาสิฏฐี]] คู่กับ [[จริยา สรณะคม]] เป็นเรื่องแรก ร่วมด้วย ดิลก ทองวัฒนา สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ และ พิราวรรณ ประสพศาสตร์ นอกจากนี้ ศรัณยูได้รับการชักชวนให้ร่วมเขียนบทละคร [[ทะเลเลือด]] (2529) ที่ดัดแปลงจากนวนิยายของ [[อกาธา คริสตี้]] กับ [[ภาสุรี ภาวิไล]] และ [[มารุต สาโรวาท]] ซึ่งเป็นผลงานละครเรื่องแรกในฐานะผู้จัดละครของ [[วรายุฑ มิลินทจินดา]]<ref>{{cite web|title=โลกของ "ไก่-วรายุฑ" โลกนี้คือละคร|url=https://www.sakulthai.org/node/3593|website=Sakulthai.com}}</ref>
บรรทัด 53:
 
หลังจากช่อง 7 ชิมลางจับคู่ ศรัณยู กับนางเอกยอดนิยม มนฤดี ยมาภัยในมัสยา ซึ่งประสบความสำเร็จด้วยดี ในปี 2530 [[ดาราวิดีโอ]] ได้มอบโปรเจกต์ใหญ่กับวรรณกรรมคลาสสิคที่มีแฟนละครรอชมเสมออย่าง [[บ้านทรายทอง]] ออกอากาศ 9 มกราคม 2530 - 29 มีนาคม 2530 ศรัณยู รับบท ม.ร.ว.ภราดาพัฒน์ระพี สว่างวงศ์ / ชายกลาง คู่กับ [[มนฤดี ยมาภัย]] ในบทพจมาน ด้วยบทที่เขียนได้สนุกและนักแสดงฝีมือยอดเยี่ยม ทำให้เกิดกระแสฟีเว่อร์บ้านทรายทอง พจมานกับทรงผมเปียคู่ เด็กๆเล่นบทบาทเลียนแบบคุณชายน้อยกันทั่วบ้านทั่วเมือง และคุณชายกลางที่กลายเป็นชายในฝันของสาวๆในเวลานั้นและกลายเป็นภาพจำของบทชายกลางในเวลาต่อมา<ref>{{cite news|last1=ชาติสุทธิชัย|first1=ยุรชัฏ|title=ชวนไปดูคนโขน หนังดีที่ต้องดู|url=http://www.manager.co.th/Columnist/ViewNews.aspx?NewsID=9540000108971|website=MGR Online|accessdate=15 April 2017}}</ref> กระแสฟีเว่อร์ทำให้มีการนำภาพยนตร์ [[บ้านทรายทอง]] (2523) ที่โด่งดังอย่างมากเมื่อ 7 ปีก่อนกลับมาเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ใหม่ เมื่อบ้านทรายทองจบลง ช่อง 7 ได้ส่ง [[พจมาน สว่างวงศ์]] มาให้ชมต่อทันที ออกอากาศ 3 เมษายน 2530 - 21 มิถุนายน 2530
 
หลังจากนั้น ศรัณยู ได้รับบทนำในละครเวที [[สู่ฝันอันยิ่งใหญ่]] (Man of La Mancha) ผลงานของผู้กำกับ [[ยุทธนา มุกดาสนิท]] ที่กลายเป็นละครเวทีระดับตำนานของไทย<ref>{{cite web|title=เหยื่ออธรรม-สู่ฝันอันยิ่งใหญ่|url=http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9510000042346&Page=2|website=MGR Online|accessdate=15 April 2017}}</ref><ref>{{cite web|title=THEATRE REVIEW The dream lives on |url=http://www.dailyxpress.net/search/page.news.php?clid=13&id=2874|website=The Nation}}</ref> เปิดแสดงเมื่อวันที่ 28 ส.ค. – 2 ก.ย. พ.ศ. 2530 ณ โรงละครแห่งชาติ การรับบท เซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้ ของศรัณยู และ [[จรัล มโนเพ็ชร]] และบท อัลดอนซ่า ของ [[นรินทร ณ บางช้าง]] ได้รับการยกย่องในฝีมือการแสดงที่สร้างความประทับใจเป็นอันมาก ละครเวทีได้ผลตอบรับยอดเยี่ยมเป็นกระแสดัง ตั๋วเต็มหมดทุกที่นั่งจนคนออแน่นเต็มบันไดทางเดิน<ref>{{cite web|title="ดอนกีโฮเต้" สู่ฝันอันยิ่งใหญ่...จะไกลแค่ไหนไม่เคยสิ้นหวัง|url=http://www.thaioctober.com/forum/index.php?PHPSESSID=rqjkp2du81q5mrilu1gh6lii92&topic=891.msg33874#msg33874|website=ThaiOctober.com|accessdate=15 April 2017}}</ref>
 
ในปีเดียวกัน ศรัณยู มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรก ผลงานกำกับของ [[ธนิตย์ จิตนุกูล]] กับหนังกระบวนการต่อสู้คดีในชั้นศาล เรื่อง [[อย่าบอกว่าเธอบาป]] คู่กับดาราเจ้าบทบาท [[สินจัย หงษ์ไทย]]<ref>{{cite web|title=60 ปี ธนิตย์ จิตนุกูล กับ 4 หนังไทยระดับปรากฏการณ์ในอดีต|url=http://movie.mthai.com/movie-news/thaimovie-news/203173.html|website=Bioscope magazine|accessdate=10 April 2017}}</ref> หลังจากความสำเร็จของบ้านทรายทอง ศรัณยู ได้มีผลงานทางช่อง 7 อีก 1 เรื่องคือ [[บริษัทจัดคู่]] ออกอากาศเดือนเมษายน – 4 กรกฎาคม 2531 ก่อนจะทิ้งช่วงไปนาน ในขณะที่ทางฝั่งช่อง 3 ได้ตัวศรัณยูไปลงละครหลายต่อหลายเรื่อง ตั้งแต่การกลับมาพบกันอีกครั้งกับนางเอก [[จริยา สรณะคม]] ในเรื่อง [[อวสานเซลส์แมน|อวสานของเซลส์แมน]] ในปี 2530 ร่วมกับ พิศาล อัครเศรณี และ พงศ์พัฒน์ วชิรบรรจง โดยเรื่องนี้ศรัณยูได้ร่วมเขียนบทโทรทัศน์กับ [[วีรประวัติ วงศ์พัวพันธ์]] และในปีเดียวกันนี้ละคร [[ปริศนา]] (2530) ของผู้จัด [[วรายุฑ มิลินทจินดา]] โด่งดังเป็นพลุแตกทำให้เกิดเสียงเรียกร้องให้สร้างอีก 2 เรื่องในซีรีส์นี้ของ [[ว.ณ ประมวญมารค]] วรายุฑยืนยันสร้าง [[เจ้าสาวของอานนท์]] และ [[รัตนาวดี]] พร้อมกับเผยว่าได้ดึงตัวพระเอกคิวทองอย่าง ศรัณยู มารับบท อานนท์
 
ปี 2531 ศรัณยู มีผลงานทางช่อง 3 ถึง 4 เรื่อง เริ่มต้นด้วย [[อาศรมสาง]] ร่วมกับ รังสิมา กสิกรานันท์, อภิรดี ภวภูตานนท์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ออกอากาศ 26 มีนาคม – 7 พฤษภาคม 2531 ตามด้วยละครเรื่อง [[ทายาท]] ร่วมกับ ชุดาภา จันทเขตต์, ดวงตา ตุงคะมณี, สุประวัติ ปัทมสูต ออกอากาศ 25 กรกฎาคม – 7 กันยายน 2531 เวลา 20.40 – 21.40 น. จากนั้นศรัณยูรับบทคู่ [[จริยา สรณะคม]] อีกครั้งในเรื่อง [[เกมกามเทพ]] ออกอากาศ 7 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน 2531 ปีเดียวกัน ก็ถึงคิวของละครที่รอคอย [[เจ้าสาวของอานนท์]] ซึ่งศรัณยูรับบทคู่ [[จริยา สรณะคม]] เป็นเรื่องที่ 4 [[ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] และ [[ลลิตา ปัญโญภาส]] กลับมารับบท มจ.พจนปรีชาและหม่อมปริศนาเพื่อนของอานนท์ในเรื่องนี้ด้วย เจ้าสาวของอานนท์ ออกอากาศ 11 พฤศจิกายน – 18 ธันวาคม 2531 (1 ปีให้หลังจากละครปริศนา) เป็นเวอร์ชันที่โด่งดังมาก<ref>{{cite web|title=รู้จักเจ้าสาวของอานนท์ 2525 - 2558 กันหรือยัง|url=https://www.pptvthailand.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/14634|website=PPTVThailand.com|accessdate=15 April 2017}}</ref> เรื่องนี้ศรัณยูได้รับหน้าที่ในการร้องเพลง "รักนิรันดร์" ประกอบละคร
 
เส้น 87 ⟶ 90:
ปลายปีเดียวกัน ช่อง 7 ได้นำอมตะภาพยนตร์ที่ทำรายได้ถล่มทลายในอดีตเรื่อง [[มนต์รักลูกทุ่ง]] มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เป็นครั้งแรกโดยค่ายดาราวิดีโอ จับคู่ ศรัณยู กับ [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] ออกอากาศ 24 ตุลาคม 2538 - 2 มกราคม 2539 ละครเรื่องนี้ถือเป็นม้ามืดมาก เพราะฟอร์มพระเอกที่คนกังขาว่าจะแสดงบทหนุ่มท้องทุ่งนา กับ นางเอก ณัฐริกา ซึ่งยังหน้าใหม่มาก แต่หลังจากละครเรื่องนี้ออกอากาศ ทุกอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ดังหมด ทั้งนักแสดง เพลงประกอบ กลายเป็น talk of the town<ref>{{cite web|title=มนต์รักลูกทุ่งเวอร์ชันเพลงละครทีวีที่ถูกถามหามากที่สุด|url=http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=680864|website=Oknation}}</ref> เป็นละครอีกเรื่องที่ทำกี่ครั้งก็ลบภาพเดิมไม่ออก เรตติ้งตอนอวสานได้ 36% ถูกบันทึกว่าเป็นอันดับ 3 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของไทย ซึ่งเป็นรองเพียงแค่ คู่กรรม (ธงไชย-กมลชนก) และ ดาวพระศุกร์ (ศรราม-สุวนันท์)<ref>{{cite web|title=5 ละครเรตติ้งสูงสุดตลอดกาลของช่อง 7|url=http://movie.sanook.com/55357/|website=Sanook Movie!}}</ref> เรตติ้งดังกล่าวยากจะมีใครทำได้อีกยิ่งในยุคอินเทอร์เน็ตและทีวีดิจิตัลด้วยแล้ว ไม่มีใครคาดคิดว่า คุณหลวงเทพฯ , พันตรีประจักษ์ จะกลายมาเป็น ไอ้คล้าว ได้แนบเนียนขนาดนี้ ประกอบกับเป็นละครร้องซึ่งเป็นแนวถนัดสำหรับนักแสดงละครเวทีอย่างศรัณยูอยู่แล้ว นอกจากละครจะโด่งดัง เพลงประกอบละคร มนต์รักลูกทุ่ง ซึ่งขับร้องโดยนักแสดงนำมีวางออกเป็นอัลบั้มถึง 2 ชุด ก็โด่งดังประสบความสำเร็จยอดขายหลักล้านชุด จนต้องเดินสายเปิดคอนเสิร์ตเพลงประกอบละครกันข้ามปี รวมทั้งเป็นการปลุกกระแสเพลงลูกทุ่งให้กลับมาใหม่<ref>{{cite web|title=ลูกทุ่งไทย กลายพันธุ์ ตีตลาดอินเตอร์|url=http://www.manager.co.th/mgrweekly/viewnews.aspx?NewsID=9480000087203&TabID=3&|website=ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์}}</ref> ศรัณยูเองก็ได้มีอัลบั้มเดี่ยวชุด หัวใจลูกทุ่ง สืบเนื่องความสำเร็จของละครในปีเดียวกัน
 
ในปีเดียวกันนี้ ศรัณยู รับบทนำในภาพยนตร์ผลงานกำกับของ [[หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล]] ที่กวาด [[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2537 ไปถึง 6 รางวัล ในเรื่อง [[มหัศจรรย์แห่งรัก]] ร่วมกับดาราชั้นนำอย่าง [[สินจัย หงษ์ไทย]] [[สันติสุข พรหมศิริ]] [[วิลลี่ แมคอินทอช]] [[นุสบา วานิชอังกูร]] และ [[อังคณา ทิมดี]] (ศรัณยูเข้าชิงรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมในครั้งนี้ด้วย)
 
=== พ.ศ. 2539–2544 ===
เส้น 117 ⟶ 120:
การเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองในปี 2549 ของ ศรัณยู ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากส่งผลกระทบต่องานละครโทรทัศน์และงานพิธีกรรายการโทรทัศน์<ref>{{cite web|title=“ตั้ว-ศรัณยู” ตอบโจทย์ ลั่นไม่เสียใจร่วมสู้กับ พธม. แม้กระทบอาชีพ|url=http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9550000109658|website=ASTVผู้จัดการออนไลน์}}</ref> อย่างไรก็ตามเขายังคงมีผลงานภาพยนตร์ ละครเวที และผลงานในบทบาทผู้กำกับและผู้จัดอย่างต่อเนื่อง
 
ปลายปี 2549 ศรัณยู นำแสดงและกำกับภาพยนตร์แนว psychological thriller เรื่อง [[อำมหิตพิศวาส]] ร่วมกับ บงกช คงมาลัย ตะวัน จารุจินดา และปรางทอง ชั่งธรรม<ref>{{cite web|title=5 อำมหิตพิศวาส: อำมหิตสมชื่อ ด้วยการแสดงและการกำกับที่น่าทึ่ง|url=http://movie.sanook.com/18827/|website=Sanook Movie!}}</ref> จากนั้นเขาได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์ชื่อเสียงระดับนานาชาติเรื่อง [[13 เกมสยอง]]
 
ปี 2550 ศรัณยูรับบท สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ในภาพยนตร์เรื่อง [[ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช]] ภาค ๑ องค์ประกันหงสา ในปีเดียวกัน ศรัณยู กลับมาร่วมงานกับ [[เอ็กแซ็กท์]] อีกครั้ง โดยรับบท กษัตริย์อาเหม็ด ในละครเวที [[ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล]] ซึ่งเป็นละครเวทีเปิดโรงละครใหม่ [[เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์]] ด้วยความนิยมจึงมีการเปิดการแสดงถึง 53 รอบ
 
ปี 2551 ศรัณยูรับหน้าที่กำกับละครพีเรียดค่าย [[เอ็กแซ็กท์]] เรื่อง [[ตราบสิ้นดินฟ้า]] นำแสดงโดย [[ยุรนันท์ ภมรมนตรี]] และ [[คัทลียา แมคอินทอช]] สำหรับงานด้านการแสดงเขามีผลงานภาพยนตร์เรื่อง [[สลัดตาเดียวกับเด็ก 200 ตา]] โดยรับบทกัปตันฤทธิ์ ออกฉายในปีนี้ จากนั้นยังรับบท พระยาราชเสนา ในภาพยนตร์ [[องค์บาก 2]] ปลายปี ศรัณยูนำแสดงละครเวที [[ทึนทึก 2 40 ปีผ่านคานเพิ่งขยับ]] ระหว่าง 20-23 พฤศจิกายน 2551 ณ เอ็มเธียเตอร์
เส้น 432 ⟶ 435:
 
===การเมือง===
 
ศรัณยู เป็นแกนนำ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] รุ่นที่ 2
ศรัณยูได้เข้าร่วมชุมนุมใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] [[พ.ศ. 2535]] และเป็นหนึ่งใน 100 บุคคลที่ร่วมก่อตั้ง[[พรรคไทยรักไทย]]ขึ้นในปี [[พ.ศ. 2541]] รวมถึงเป็นกรรมการบริหารพรรคในระยะแรกด้วย<ref>[http://www.siangtai.com/TH/news_detail.php?News_ID=212&Cat_ID=19 เสียงใต้รายวัน]</ref> แต่ใน[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550]] ศรัณยูเป็นบุคคลหนึ่งที่เข้าร่วมใน[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]] โดยเข้าร่วมชุมนุมตั้งแต่วันแรกที่มาชุมนุมก่อตั้งกลุ่ม คือ [[วันเสาร์]]ที่ [[4 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] ที่[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]] และได้ร่วมชุมนุมอยู่บ่อยครั้งและได้ขึ้นเวทีปราศรัยร่วมกับ[[พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง]] เพื่อนนักแสดงที่หน้า[[สยามพาราก้อน]]ด้วย
ชุมนุมทางการขณะปราศรัยบนเวทีกับ [[พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง]] ที่หน้า[[สยามพาราก้อน]]เมื่อวันที่ [[29 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ในคราว[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|ขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]]
 
ได้เข้าร่วมชุมนุมใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] [[พ.ศ. 2535]] และเป็นหนึ่งใน 100 บุคคลที่ร่วมก่อตั้ง[[พรรคไทยรักไทย]]ขึ้นในปี [[พ.ศ. 2541]] รวมถึงเป็นกรรมการบริหารพรรคในระยะแรกด้วย<ref>[http://www.siangtai.com/TH/news_detail.php?News_ID=212&Cat_ID=19 เสียงใต้รายวัน]</ref> แต่ใน[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550]] ศรัณยูเป็นบุคคลหนึ่งที่เข้าร่วมใน[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]] โดยเข้าร่วมชุมนุมตั้งแต่วันแรกที่มาชุมนุม คือ [[วันเสาร์]]ที่ [[4 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] ที่[[ลานพระบรมรูปทรงม้า]] และได้ร่วมชุมนุมอยู่บ่อยครั้งและได้ขึ้นเวทีปราศรัยร่วมกับ[[พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง]] เพื่อนนักแสดงที่หน้า[[สยามพาราก้อน]]ด้วย
ต่อมาเมื่อเกิดวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทยขึ้นอีกครั้ง ศรัณยูเป็นบุคคลหนึ่งที่เข้าร่วมใน[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551|การขับไล่ นายสมัคร สุนทรเวช และคณะรัฐมนตรีทั้งชุดลาออกจากตำแหน่ง]] และได้ขึ้นเวทีร้องเพลงกับ [[ไก่ แมลงสาบ]] และ[[ซูซู|วงซูซู]]อย่างสม่ำเสมอ จนกระทั่งถูกแต่งตั้งให้เป็นแกนนำฯรุ่นที่ 2 พร้อมกับนาง[[มาลีรัตน์ แก้วก่า]] ในวันที่ [[23 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2551]] ต่อมาในวันที่ [[6 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2552]] ได้รับเลือกให้เป็นรองเลขาธิการ[[พรรคการเมืองใหม่]]ของทางกลุ่มพันธมิตรฯ
 
และในวันที่ [[6 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2552]] ได้รับเลือกให้เป็นรองเลขาธิการ[[พรรคการเมืองใหม่]]ของทางกลุ่มพันธมิตรฯ
นอกจากนี้แล้วหลังจบการชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 ของทางกลุ่มพันธมิตรฯ ศรัณยูมีความคิดที่จะสร้างภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับการชุมนุมครั้งนี้ด้วย โดยกำหนดจะออกฉายในราวกลางปี พ.ศ. 2552 ถึงขนาดมีการคัดเลือกผู้ที่จะมาเป็นนักแสดง โดยเลือกเอาจากบุคคลทั่วไปหรือบุคคลที่เคยเข้าร่วมการชุมนุมจริง ๆ เป็นนักแสดงนำในเรื่อง<ref>{{cite web|url=http://news.hunsa.com/14441-%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A7-%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88-%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%AF%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A1.html|title= "ตั้ว" เตรียมสร้างหนังใหญ่ เล่าเรื่องราว กลุ่มพันธมิตรฯชุมนุม|date=19 January 2009|accessdate=31 March 2014|publisher=หรรษา}}</ref>{{อ้างอิงดีกว่า}}