ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ยศสุดท้ายตามอนุสรณ์งานศพ
บรรทัด 1:
{{infobox officeholder
{{ผู้นำประเทศ
| name = เจ้าพระยารามราฆพ <br> (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)
| image = เจ้าพระยารามราฆพ.jpg
| imagesize =
| birth_date = [[5 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2433]]
| birth_place =
| death_date = [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2510]] (77 ปี)
| death_place =
| order2 = [[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]]
| order = [[องคมนตรี]]
| monarch = [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| term_start = พ.ศ.10 2455พฤศจิกายน 2460
| term_end = ?
| predecessor2 = พระยาเทพอรชุน
| order2 = [[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]]
| successor2 = หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
| monarch2 = [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| order31 = สมุหพระราชมนเฑียร
| term_start2 = 10 พฤศจิกายน 2460
| monarch31 = [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]
| term_end2 = ?
| term_start31 = พ.ศ. 2490
| predecessor2 = พระยาเทพอรชุน
| term_end31 = พ.ศ. 2510
| successor2 = หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
| order3 = สมุหพระราชมนเฑียร
| monarch3 = [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]
| term_start3 = พ.ศ. 2490
| term_end3 = พ.ศ. 2510
| religion = [[พุทธ]]
| party =
}}
มหาเสวกเอก จางวางเอก พลเอก พลเรือเอก นายพลเสือป่า นายกองเรือใหญ่ '''เจ้าพระยารามราฆพ''' (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตเป็นขุนนางชาวไทย เคยดำรงตำแหน่ง เช่น องคมนตรี อดีต[[รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย|สมุหราชองครักษ์]] อดีตสมุหพระราชวัง<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2487/D/055/1756.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งสมุหพระราชวัง ประธานกรรมการพระราชสำนัก] </ref>อดีต ประธานกรรมการ[[สำนักพระราชวัง|พระราชสำนัก]] อดีตนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] และ อดีตนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
 
== ประวัติ ==
=== ปฐมวัย ===
พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เดิมชื่อว่า หม่อมหลวงเฟื้อ [[:หมวดหมู่:ราชสกุลพึ่งบุญ|พึ่งบุญ]] เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 ตรงกับแรม 7 ค่ำ เดือน 10 ปีขาล ร.ศ. 109 ที่บ้านถนนจักรเพชร จังหวัดพระนคร เป็นบุตร [[พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมราชวงศ์ละม้าย พึ่งบุญ)]]<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/047/1376_1.PDF พระราชทานเพลิงศพ] </ref>กับ[[พระนมทัด]] (พระนมของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพี่ น้องร่วมมารดา 3 คนด้วยกัน คือ
* [[ท้าวอินทรสุริยา (หม่อมหลวงเชื้อ พึ่งบุญ)]] พนักงานภูษามาลา<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/D/1902.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์] </ref>
* ท่านเจ้าพระยารามราฆพ
* มหาเสวกเอก พลตรี [[พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)]]
 
 
เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข และโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ([[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) เมื่อ พ.ศ. 2448 และได้ถวายตัวเข้ารับราชการใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2451 ครั้นในงานบรมราชาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2453 ก็ได้มีหน้าที่เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ยืนหลังที่ประทับตลอดพระราชพิธี ด้วยเหตุนี้เมื่อทรงจัดตั้ง[[กองเสือป่า]] จึงพระราชทานธงประจำตัวกองเสือป่า ให้ท่าน เป็นรูปเทพยดา เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรี ขนพื้นสีแดง (ถ้าไม่มีเชื้อราชตระกูล ใช้รูปมานพ) ตลอดเวลาที่รับราชการ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานใกล้ชิด โปรดให้เป็นหัวหน้าห้องพระบรรทม นั่งร่วมโต๊ะเสวยทั้งมื้อกลางวันและกลางคืนตลอดรัชกาล และตามเสด็จโดยลำพัง
 
=== ยศ ===
ได้รับความเจริญในราชการโดยลำดับ ดังนี้
 
=== ยศ ===
* 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เป็นนายกองโท<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/230.PDF พระราชทานสัญญาบัตรกองเสือป่า] </ref>
* 30 กันยายน พ.ศ. 2454 เป็นนายกองเอก<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1501.PDF พระราชทานสัญญาบัตรกองเสือป่า] </ref>
เส้น 54 ⟶ 47:
* 4 มีนาคม พ.ศ. 2498 เป็นพลเรือเอก<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/020/660.PDF ประกาศสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหาร] </ref>(อายุ 65 ปี)
 
=== บรรดาศักดิ์ ===
* 30 ธันวาคม พ.ศ. 2453 เป็น นายขัน มหาดเล็กหุ้มแพรต้นเชือกเวรเดช ถือศักดินา ๕๐๐ <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2383.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง (หน้า ๒๓๘๕)] </ref> (อายุ 20 ปี)
* 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เป็น นายจ่ายง มหาดเล็กเวรศักดิ์ ถือศักดินา ๖๐๐<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/285.PDF พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง (หน้า ๒๘๖)] </ref>(อายุ 20 ปี)
เส้น 60 ⟶ 53:
* 27 ธันวาคม พ.ศ. 2455 เป็นพระยาประสิทธิ์ศุภการ จางวางมหาดเล็ก ถือศักดินา ๓๐๐๐ <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/D/2215.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์] </ref>(อายุ 22 ปี)
 
ต่อมาวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 ขณะอายุได้ 31 ปี มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระยาประสิทธิ์ศุภการ ขึ้นเป็นเจ้าพระยารามราฆพ มีสมญาจารึกในสุพรรณบัฎว่า "เจ้าพระยารามราฆพ พัชรพัลลภมหาสวามิภักดิ์ สมัครพลวโรปนายก สุรเสวกวิศิษฏ์คุณ พึ่งบุญพงศ์บริพัตร นฤปรัตนราชสุปรีย์ ศรีรัตนไตรสรณธาดา เมตตาภิรัตมัทวสมาจาร สัตยวิธานอาชวาธยาศัย อภัยพิริยบรากรมพาหุ คชนาม "มีศักดินา 10000<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/A/422.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เลื่อนกรมตั้งพระองค์เจ้าและตั้งเจ้าพระยา (หน้า ๔๒๖)] </ref>ได้รับพระบรมราชโองการต่อจาก[[เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร)]] และก่อน[[เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)]] กล่าวกันว่าเจ้าพระยารามราฆพเป็นเจ้าพระยาที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์การแต่งตั้งของกรุงรัตนโกสินทร์
 
=== ตำแหน่งในราชการ และความสำคัญอื่น ๆ ===
* 15 สิงหาคม พ.ศ. 2456 เป็นราชองครักษ์พิเศษ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/D/1075.PDF แจ้งความกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งราชองครักษ์พิเศษ] </ref>
* 19 ธันวาคม พ.ศ. 2456 เป็นรองอธิบดีกรมมหาดเล็ก<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2456/A/386.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งผู้ทำการแทนอธิบดีและรองอธิบดีกรมมหาดเล็ก] </ref>
เส้น 89 ⟶ 82:
* นายกสมาคมราชยานยนต์สมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์<ref>http://www.raat.or.th/info.php</ref>
 
หลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ จึงออกไปศึกษาต่อที่[[ประเทศอังกฤษ]] จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถึง พ.ศ. 2477 จึงเดินทางกลับประเทศไทย ได้พำนักอยู่ที่บ้านบุญญาศรัย ถนนราชดำริ 1 ปี จึงมาพำนักที่[[ทำเนียบรัฐบาลไทย|บ้านนรสิงห์]] ถึงปี พ.ศ. 2484 ขายบ้านนรสิงห์ให้รัฐบาล แล้วย้ายไปพำนักที่บ้านท่าเกษม ตำบลบางขุนพรหม ถึงปี พ.ศ. 2505 จึงขายบ้านท่าเกษมให้กับ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] (เป็นโรงพิมพ์ธนบัตร ในปัจจุบันนี้) ท้ายที่สุด ใน[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร|รัชกาลที่ 9]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบ้านให้พำนัก ที่ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี ท่านขนานนามบ้านนี้ว่า "บ้านพระขรรค์ชัยศรี" และพำนัก ณ ที่นี้จนถึงอสัญกรรม
 
ด้านการเมือง ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นนายกเทศมนตรี[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|เทศบาลนครกรุงเทพฯ]] คนแรก เมื่อปี พ.ศ. 2480 โดยมี[[พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)]] เป็นปลัดเทศบาลนครกรุงเทพฯ คนแรก
เส้น 140 ⟶ 133:
ในบั้นปลายชีวิต นอกจากการรับราชการแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ ก็ใช้ชีวิตอยู่กับบ้าน มีกิจวัตรประจำวันคือการจดบันทึก ซึ่งทำมาตั้งแต่อยู่ในมัธยมวัยจนถึงอสัญกรรม นอกจากนี้ก็เพลิดเพลินอยู่กับการบำรุงดูแลเรือ ทั้งเรือยนต์และเรือกล อันเป็นของชอบของท่านตั้งแต่ยังรับราชการ และไปพักตากอากาศที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทุก ๆ ปี
 
พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ ถึงแก่อสัญกรรมในวันเสาร์ ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510 เวลา 22 นาฬิกา .15 นาทีน. ด้วยเส้นโลหิตแตก สิริรวมอายุได้ 77 ปี 16 วัน ณ ตึกธนาคารกรุงเทพ [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]] ซึ่ง [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ได้เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชทานเพลิงศพ พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ ณ [[เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ [[วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร]] เมื่อบ่ายวันอังคารที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2510 <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2511/D/001/15_1.PDF ข่าวในพระราชสำนัก] </ref>
 
อนึ่ง ในขณะที่เจ้าพระยารามราฆพ ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล [[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ได้ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นคนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์
เส้น 227 ⟶ 220:
{{เรียงลำดับ|รามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)}}
{{อายุขัย|2433|2510}}
 
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา]]
[[หมวดหมู่:องคมนตรีในรัชกาลที่ 6]]