ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวีปแอนตาร์กติกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WATCH WA USA (คุย | ส่วนร่วม)
จุดมุ่งหมายที่มี
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| ภาพ = [[ไฟล์:Antarctica (orthographic projection).svg|220px]]
| พื้นที่ = 14,107,637 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] (อันดับที่ 5)<br/>โดย 280,000 ตร.กม. ปราศจากน้ำแข็ง
| ประชากร = ≈135 คน (ถาวร)<br />≈5,000 (ชั่วคราว)<br /> (อันดับที่ 7)
| เดมะนิม = ชาวแอนตาร์กติกา (Antarctican)
| ประเทศ = สหภาพโซเวียต
| เวลา = ดูที่ [[เวลาในทวีปแอนตาร์กติกา]]
| อินเทอร์เน็ต = [[.aq]]
| เมือง = Aphaiwat
}}
 
[[ไฟล์:Antarctica_6400px_from_Blue_Marble.jpg|thumb|right|260px|ภาพถ่ายดาวเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา]]
 
'''แอนตาร์กติกา''' ({{lang-en|Antarctica}} {{audio|en-us-Antarctica.ogg| /æntˈɑːrktɪkə/|help=no}}) เป็น[[ทวีป]]ที่อยู่ใต้สุดของ[[โลก]]ตั้งอยู่ใน[[ภูมิภาคแอนตาร์กติก]]ใน[[ซีกโลกใต้]]และเป็นที่ตั้ง[[ขั้วโลกใต้]]ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ใน[[วงกลมแอนตาร์กติก]]และล้อมรอบด้วย[[มหาสมุทรใต้]] มีพื้นที่ประมาณ 14 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่า[[ทวีปออสเตรเลีย]]ถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร<ref name="Bedmap2">{{cite journal | author1= P. Fretwell| author2= J. L. Bamber| author3= R. Bell| display-authors=1| title= Bedmap2: improved ice bed, surface and thickness datasets for Antarctica| journal= The Cryosphere journal| pages= 375-393| url= http://www.the-cryosphere.net/7/375/2013/tc-7-375-2013.pdf| format= PDF| doi= 10.5194/tc-7-375-2013| publication-date= 28 February 2013| access-date= 6 January 2014}}</ref> ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดเว้นแต่ส่วนเหนือสุดของ[[คาบสมุทรแอนตาร์กติก]]
 
โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด<ref name=dnaclimate>{{cite web| archive-url= https://web.archive.org/web/20161113152357/http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida| archive-date= 13 November 2016| url= http://www.dna.gov.ar/la-ant%C3%A1rtida| title= La Antártida| publisher= Dirección Nacional del Antártico| language= Spanish| access-date= 13 November 2016}}</ref> แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มี[[หยาดน้ำฟ้า]]เฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน<ref>{{cite web| last= Joyce| first= C. Alan| date= 18 January 2007| title= The World at a Glance: Surprising Facts| work= The World Almanac| url= http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html| access-date= 7 February 2009| archive-url= https://web.archive.org/web/20090304001123/http://www.worldalmanac.com/blog/2007/01/the_world_at_a_glance_surprisi.html| archive-date= 4 March 2009}}</ref> ในช่วงไตรมาสที่สามซึ่งเป็นช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย -63 °C แต่(ที่สถานีวอสตอค ของรัสเซีย) อุณหภูมิที่วัดได้เคยต่ำถึง -89.2 °C (และเคยวัดได้ถึง -94.7 °C โดยเป็นการวัดจากดาวเทียมในอวกาศ<ref>{{cite web| title= Coldest temperature ever recorded on Earth in Antarctica: -94.7C (−135.8F)| url= https://www.theguardian.com/world/2013/dec/10/coldest-temperature-recorded-earth-antarctica-guinness-book| website= The Guardian| publication-date= 10 December 2013| access-date= 12 July 2017}}</ref>) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวก[[สาหร่าย]], [[แบคทีเรีย]], [[เห็ดรา]], [[พืช]], [[โพรทิสต์]]และ[[สัตว์]]บางชนิดเช่นตัวเห็บ, ตัวไร, [[นีมาโทดา|หนอนตัวกลม]], [[เพนกวิน]], [[วงศ์ใหญ่สัตว์ตีนครีบ|สัตว์ตีนครีบ]]และ[[หมีน้ำ]]ส่วนพืชก็จะเป็นพวก[[ทันดรา]]
 
แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบ เพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง พ.ศ. 25632363 นักสำรวจชาวรัสเซีย[[เฟเบียน ก็อทลีป ฟอน เบลลิ่งเชาเซน]]และ[[มิคาอิล ลาซาเรฟ]]ที่อยู่บน[[Vostok (sloop-of-war)|เรือสลุบ''วอสตอค'' ]]และ[[Mirny (sloop-of-war)|เรือสลุบ''เมอร์นีย์'' ]]ได้สังเกตเห็น[[หิ้งน้ำแข็งฟิมโบล]]แต่ก็ไม่ได้สนใจเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เป็นมิตรต่อมนุษย์ ขาดแคลนทรัพยากรในการสำรวจและความห่างไกลของพื้นที่ ต่อมาพ.ศ. 2438 ทีมสำรวจชาวนอร์เวย์ได้รับการยืนยันการมาเยือนดินแดนแห่งนี้เป็นครั้งแรก
 
ทวีปแอนตาร์กติกาเป็น[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม]]โดยพฤตินัยตาม[[ดินแดนใต้การปกครองร่วม (กฎหมายระหว่างประเทศ)|กฎหมายระหว่างประเทศ]]และอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก]]ที่ลงนามครั้งแรกโดย 12 ประเทศใน พ.ศ. 2502 และตามด้วยการลงนามอีกเพิ่ม 38 ประเทศ ระบบสนธิสัญญานี้ห้ามมิให้มีการทำเหมืองแร่ กิจกรรมทางทหาร ทดลองระเบิดนิวเคลียร์และการกำจัดกากนิวเคลียร์ แต่จะสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และปกป้องชั้นโอโซนของทวีป ทำให้มีการทดลองอย่างต่อเนื่องโดนนักวิทยาศาสตร์ 4,000 คนจากหลายประเทศบนทวีปนี้
 
== นิรุกติศาสตร์ ==