ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาสิงหล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Infobox Language
| name = ภาษาสิงหล
|image=Word Sinhala in Yasarath font.svg
| nativename = සිංහල
| pronunciation = [ˈsiŋɦələ] ''สิงหะละ''
| region = [[ประเทศศรีลังกา]]
| speakers = 15 ล้านคน
| familycolor = Indo-European
| fam2 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียน|อินโด-อิเรเนียน]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน|อินโด-อารยัน]]
| fam4 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อารยันตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้|ทางใต้]]
| fam5 = [[ภาษากลุ่มสิงหล-มัลดีเวียน|สิงหล-มัลดีเวียน]]
| script = [[อักษรสิงหล]] (พัฒนามาจาก[[อักษรตระกูลพราหมี]])
| nation = [[ประเทศศรีลังกา]]
| iso1 = si|iso2=sin|iso3=sin
| notice = Indic}}
 
'''ภาษาสิงหล''' ({{lang-si|සිංහල}}) เป็นภาษาของ[[ชาวสิงหล]] ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของ[[ประเทศศรีลังกา]] เป็นภาษาในสาขา[[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน|อินโด-อารยัน]]ของตระกูล[[ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน|อินโด-ยูโรเปียน]] มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[ภาษามัลดีฟส์]]ของ[[ประเทศมัลดีฟส์]] มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน
 
เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่[[เกาะลังกา]]เมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจาก[[พุทธศาสนา]] และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์[[ภาษาทมิฬ]]ปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจาก[[ภาษาดัตช์]] [[ภาษาโปรตุเกส]] และ[[ภาษาอังกฤษ]] เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วย[[อักษรสิงหล]]ที่พัฒนามาจาก[[อักษรพราหมี]] รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี [[พ.ศ. 2499]] และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใจ<ref>http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01way03070951&sectionid=0137&day=2008-09-07</ref>
== ชื่อ ==
สิงหลเป็นคำจาก[[ภาษาสันสกฤต]]ซึ่งภาษาในยุคกลางที่เทียบได้คือสีหละ ส่วนคำในภาษาสิงหลจริง ๆ คือเฮลา ความหมายของคำนี้คือสิงโต<ref>{{Cite journal| last=Caldwell | first=Robert | author-link=Robert Caldwell | title=A comparative grammar of the Dravidian or South-Indian Family of Languages | publisher=Trübner & Co. | place=London | year=1875 | postscript=.}}, pt. 2 p. 86.</ref>