ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stanglavine (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.100.23.216 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{Infobox mythical creature
ตามคติ[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาเชน]] '''นาค''' ({{lang-sa|नाग}} ''Nāga'') คือ[[งู]] อาศัยในเมือง[[บาดาล]] แปลงกายเป็นมนุษย์ได้ ในทาง[[ประติมานวิทยา]]มักแสดงในสามรูปแบบคือ มนุษย์มีงูที่ศีรษะ งู หรือครึ่งงูครึ่งมนุษย์ นาคเพศหญิงเรียกว่า''นาคี'' นาคผู้เป็นหัวหน้าเรียกว่า[[พญานาค]] ถือเป็น[[สัตว์ในนิยาย]]ที่มีบทบาทสำคัญในเรื่องปรัมปราในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Nāga|นาค}}
|name = ''นาค'' <br> नाग
|AKA = ''นาคี'' หรือ ''นาคินี''
|image = 6th century coiled Nagaraja in ceiling (cave 1), Badami Hindu cave temple Karnataka.jpg
|image_size =
|caption = ภาพแกะสลักนาคที่[[ปัทมีคูหามนเทียร]] [[ศิลปะกรณาฏกะ]]
|Mythology = [[ประมวลเรื่องปรัมปราฮินดู]] [[ประมวลเรื่องปรัมปราพุทธ]]
|Grouping = [[สัตว์ในนิยาย]]
|Sub_Grouping = [[เทพแห่งน้ำ]], [[เทพแห่งความคุ้มครอง]], [[เทพแห่งงู]]
|Region = [[เอเชียใต้]] และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]
|Habitat = [[บาดาล]], [[ทะเลสาบ]], [[แม่น้ำ]], [[บ่อน้ำ]] [[ป่าศักดิ์สิทธิ์]] และ[[ถ้ำ]]
|Similar_creatures = [[มังกร]] (มีความสัมพันธ์กับ[[มังกรจีน]], [[มังกรญี่ปุ่น]], [[มังกรเกาหลี]], [[มังกรเวียดนาม]] และ[[Druk]]) และ[[Bakunawa]]
}}
ตามคติ[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาเชน]] '''นาค''' ({{lang-sa|नाग}} ''Nāga'') คือ[[งู]]ใหญ่มีหงอน<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 617</ref> อาศัยในเมือง[[บาดาล]] แปลงกายเป็นมนุษย์ได้ ในทาง[[ประติมานวิทยา]]มักแสดงในสามรูปแบบคือ มนุษย์มีงูที่ศีรษะ งู หรือครึ่งงูครึ่งมนุษย์<ref>{{Cite book|url=https://books.google.co.in/books?isbn=0816075646|title=Encyclopedia of Hinduism|last=Jones|first=Constance|last2=Ryan|first2=James D.|date=2006|publisher=Infobase Publishing|year=|isbn=9780816075645|location=|pages=300|language=en}}</ref> นาคเพศหญิงเรียกว่า''นาคี''<ref>{{Cite web|url=https://www.sanskritdictionary.com/?iencoding=iast&q=नागी&lang=sans&action=Search|title=Sanskrit Dictionary|website=sanskritdictionary.com|access-date=2018-09-27}}</ref> นาคผู้เป็นหัวหน้าเรียกว่า[[พญานาค]]<ref>{{cite book|last=Elgood|first=Heather|title=Hinduism and the Religious Arts|year=2000|publisher=Cassell|location=London|isbn=0-304-70739-2|page=234}}</ref><ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 801</ref> ถือเป็น[[สัตว์ในนิยาย]]ที่มีบทบาทสำคัญในเรื่องปรัมปราในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Nāga|นาค}}
 
==ศัพทมูล==
{{Wikispecies|Naja naja}}
ในภาษาสันสกฤต คำว่า "นาค" ({{IAST|nāgá}}; {{lang|sa|[[:wikt:नाग#Sanskrit|नाग]]}}) หมายถึง[[งูเห่า]]สายพันธุ์[[งูเห่าอินเดีย]] (''Naja naja'') คำเหมือนกันกับนาค คือ ''{{IAST|phaṇin}}'' ({{lang|sa|[[:wikt:फणिन्#Sanskrit|फणिन्]]}}) โดยทั่วไปแล้วมีคำที่หวามหมายเหมือน "งู" อยู่หลายคำ หนึ่งในคำที่ใช้มากคือคำว่า ''{{IAST|sarpá}}'' ({{lang|sa|[[:wikt:सर्प#Sanskrit|सर्प]]}}) ในบางครั้งคำว่านาคเองก็ถูกใช้ในความหายทั่วไปว่าหมายถึง "งู"<ref name=Apte>{{cite book|last1=Apte|first1=Vaman Shivram|title=The student's English-Sanskrit dictionary|url=https://archive.org/details/studentsenglishs00apte_271|date=1997|publisher=Motilal Banarsidass|location=Delhi|isbn=81-208-0299-3|edition=3rd rev. & enl.}}, p. 423. The first definition of ''nāgaḥ'' given reads "A snake in general, particularly the cobra." p.539</ref>
 
==ศาสนาฮินดู==
[[ไฟล์:Patanjali.jpg|thumb|upright|left|[[ปตันชลี]]ในปาง[[เศษะ]]]]
ในความเชื่อของฮินดู นาคเป็นสิ่งมีชีวิตกึ่งเทวะ (semidivine) ที่มีพลังอำนาจ วิเศษ ภูมิใจ และมหัศจรรย์ ด้วยสถานะความเป็นกึ่งเทวะจึงอาจอนุมานรูปลักษณะทางกายภาพของนาคว่าเป็นมนุษย์, กึ่งมนุษย์กึ่งนาค หรือเป็นลักษณะนาคทั้งหมด นาคอาศัยอยู่ในโลกบาดาลที่เรียกว่า "บาดาล" ซึ่งเต็มไปด้วยอัญมณี ทองคำ และสมบัติทางโลกอื่น ๆ นอกจากนี้นาคยังมีความเกี่ยวพันกับพื้นน้ำ เช่น แม่น้ำ ทะเลสาบ ทะเล หรือแม้แต่บ่อน้ำ และถือว่าเป็นผู้พิทักษ์สมบัติ<ref>{{Cite news|url=https://www.britannica.com/topic/naga-Hindu-mythology|title=Naga {{!}} Hindu mythology|encyclopedia=Encyclopedia Britannica|access-date=2018-05-11|language=en}}</ref> พลังอำนาจและพิษของนาคทำให้นาคเป็นไปได้ว่าจะเป็นอัตรายต่อมนุษย์ อย่างไรก็ตามนาคมักปรากฏอยู่ในฐานะตัวเองที่เป็นประโยชน์ในตำนานฮินดู เช่นใน[[กวนเกษียสมุทร|สมุทรมณฑล]] ซึ่งพญา[[วาสุกี]]ซึ่งประทับรอบพระศอของ[[พระศิวะ]]ได้มาเป็นเชือกสำหรับการกวนน้ำในเกษียรสมุทร<ref>{{Cite web|url=https://hinduism.stackexchange.com/questions/15105/why-was-vasuki-used-in-samudra-manthan-great-ocean-churning|title=Why was vasuki used in Samudra Manthan great ocean Churning|website=Hinduism Stack Exchange|access-date=2018-05-11}}</ref> Their eternal mortal enemies are the [[Garuda]]s, the legendary semidivine birdlike-deities.<ref>{{Cite news|url=https://www.britannica.com/topic/Garuda|title=Garuda {{!}} Hindu mythology|encyclopedia=Encyclopedia Britannica|access-date=2018-05-11|language=en}}</ref>
[[พระวิษณุ]]นั้นดั้งเดิมแล้วมีการสร้างรูปเคารพในรูปลักษณะที่ทรงมีนาค[[เศษะ]]ประทับปกคลุม หรือประทับนอนบนนาคเศษะ อย่างไรก็ตามประติมานวิทยานี้ได้ขยายออกไปตามเทพองค์อื่น ๆ ด้วยเช่นกัน เช่นเดียวกับใน[[พระคเณศ]]ซึ่งปรากฏนาคในหลายลักษณะ ทั้งประทับคล้องพระศอของพระคเณศ<ref>For the story of wrapping {{IAST|Vāsuki}} around the neck and {{IAST|Śeṣa}} around the belly and for the name in his sahasranama as {{IAST|Sarpagraiveyakāṅgādaḥ}} ("Who has a serpent around his neck"), which refers to this standard iconographic element, see: Krishan, Yuvraj (1999), Gaņeśa: Unravelling An Enigma, Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, {{ISBN|81-208-1413-4}}, pp=51-52.</ref> ใช้เป็น[[Upanayana|ด้ายศักดิ์สิทธิ์]] (สันสกฤต: ยัชโญปวีตะ; ''{{IAST|yajñyopavīta}}''),<ref>For text of a stone inscription dated 1470 identifying Ganesha's sacred thread as the serpent {{IAST|Śeṣa}}, see: Martin-Dubost, p. 202.</ref> ประทับคล้องพระวรกายของพระคเณศ หรือแแต่ในลักษณะเป็นบัลลังก์ให้พระคเณศประทับ<ref>For an overview of snake images in Ganesha iconography, see: Martin-Dubost, Paul (1997). Gaņeśa: The Enchanter of the Three Worlds. Mumbai: Project for Indian Cultural Studies. {{ISBN|81-900184-3-4}}, p. 202.</ref> พระศิวะมักปรากฏในรูปเคารพพร้อมนาคในลักษณะคล้ายมาลัยเช่นกัน<ref>{{Cite book|last=Flood|first=Gavin|authorlink=|title=An Introduction to Hinduism|year=1996|publisher=Cambridge University Press|location=Cambridge|isbn=0-521-43878-0|url-access=registration|url=https://archive.org/details/introductiontohi0000floo}}; p. 151</ref> Maehle (2006: p.&nbsp;297) ระบุว่า "ปตัญชลีนั้นเชื่อกันว่าเป็นการประจักษ์ของความเป็นนิรันดร์"
 
== ศาสนาพุทธ ==
[[ไฟล์:Mucalinda and the Buddha.jpg|thumb|150px|พระพุทธรูป[[ปางนาคปรก]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร]]]]
เช่นเดียวกันกับในศาสนาฮินดู นาคในศาสนาพุทธนั้นมักแสดงในรูปของงูเห่าที่ยิ่งใหญ่ มีทั้งเศียรเดียวและหลายเศียร นาคบางตนมีพลังวิเศษในการแปลงกายเป็นรูปมนุษย์ บางครั้งมีการสร้างรูปของนาคในลักษณะของมนุษย์ซึ่งมีงูหรือมังกรปรกอยู่เหนือศีรษะ<ref>"Indian Nagas and Draconic Prototypes" in: Ingersoll, Ernest, et al., (2013). ''The Illustrated Book of Dragons and Dragon Lore''. Chiang Mai: Cognoscenti Books. ASIN B00D959PJ0</ref> ในพุทธประวัติระบุว่าเคยมีนาคตนหนึ่งซึ่งแปลงกายอยู่ในรูปมนุษย์ได้มีความพยายามที่จะออกบวช แต่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสว่าไม่สามารถให้นาคบวชได้ หากนาคต้องการบวชจักต้องเกิดใหม่ในชาติที่เป็นมนุษย์จึงจะบวชได้<ref>{{cite web|last=Brahmavamso|first=Ajahn|title=VINAYA The Ordination Ceremony of a Monk|url=http://www.budsas.org/ebud/ebsut020.htm}}</ref> ในศาสนาพุทธเชื่อว่านาคอาศัยในบาดาล เช่นเดียวกันกับเทวดาบางส่วน และอาศัยในส่วนต่าง ๆ ของโลกมนุษย์ บางส่วนอาศัยในน้ำ เช่นลำธาร แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร และบางส่วนอาศัยบนบกเช่นในถ้ำ
 
นาคเป็นบริวารของ[[ท้าววิรูปักษ์]] หนึ่งใน[[โลกบาล]]ผู้พิทักษ์ทิศตะวันตก นาคต่าง ๆ ทำหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์บนเขาพระสุเมรุ เพื่อปกป้องชั้น[[ดาวดึงส์]]จาก[[อสูร]]
 
หนึ่งในนาคที่เป็นที่รู้จักดีในศาสนาพุทธคือ[[มุจลินท์]]ผู้ประทับเป็นผู้ปกป้องพระโคตมพุทธเจ้า ในวินัยสูตร (I, 3) ระบุว่าไม่นานหลังพระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ ได้บังเกิดฝนฟ้าคะนองรุนแรง พญามุจลินท์จึงได้ขดรอบพระพุทธองค์และใช้เศียรทั้งเจ็ดของพญานาคคุ้มพระเศรียรของพระพุทธเจ้า เพื่อมิให้พระพุทธองค์ต้องเปียกฝน<ref name="ReferenceA">P. 72 ''How Buddhism Began: The Conditioned Genesis of the Early Teachings'' By Richard Francis Gombrich</ref> หลังจากฝนหยุด นาคราชมุจลินท์ได้คลายขดออกและแปลงกายเป็น[[พรหมิน]]หนุ่มประทับเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า<ref name="ReferenceA"/> ตำนานในส่วนนี้มีความแตกต่างกันในรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปตามความเชื่อในแต่ละภูมิภาค
 
== ความเชื่อท้องถิ่น ==
=== ประเทศศรีลังกา ===
[[Naga people (Lanka)|ชาวนาค]] (Naga people) มีความเชื่อกันว่าเป็นชนเผ่าโบราณที่ครั้งหนึ่งเคยอาศัยอยู่ใน[[ประเทศศรีลังกา]] มีการอ้างถึงในคัมภีร์โบราณ เช่น [[มหาวงศ์]], [[Manimekalai]]
 
=== ประเทศไทย ===
{{main|พญานาค|บั้งไฟพญานาค}}
ในความเชื่อของวัฒนธรรมร่วมไทย-ลาว มีการนับถือนาคในลักษณะเป็นเทพแห่งน้ำ และมีความเชื่อว่าใน[[แม่น้ำโขง]]นั้นมีนาคอาศัยอยู่ {{cn-span|ตามตำนาน{{What}} สัตว์จำพวกงู, แมงป่อง, ตะขาบ, คางคก มีพิษจากพิษที่นาคได้คายทิ้งไว้}} นอกจากนี้ในความเชื่อของไทยได้แบ่งนาคออกเป็น 4 ตระกูลใหญ่ คือ {{cn-span|ตระกูลวิรูปักษ์ เป็นพญานาคตระกูลสีทอง, ตระกูลเอราปถ พญานาคตระกูลสีเขียว, ตระกูลฉัพพยาปุตตะ พญานาคตระกูลสีรุ้ง, ตระกูลกัณหาโคตมะ พญานาคตระกูลสีดำ และเชื่อว่านาคสามารถเกิดได้สี่รูปแบบ คือ โอปปาติกะ เกิดแล้วโตทันที, สังเสทชะ เกิดจากเหงื่อไคล สิ่งหมักหมม, ชลาพุชะ เกิดจากครรภ์ และ อัณฑชะ เกิดจากฟองไข่}}
ผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่ม[[แม่น้ำโขง]]เชื่อว่า [[แม่น้ำโขง]]เกิดจากการแถตัวของพญานาค 2 ตน จึงเกิดเป็นแม่น้ำโขงและ[[แม่น้ำน่าน]] นอกจากนี้ยังรวมถึง[[บั้งไฟพญานาค]] โดยมีตำนานว่าในวันออกพรรษาหรือเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จจากสวรรค์ชั้น[[ดาวดึงส์]] พญานาคแม่น้ำโขงต่างชื่นชมยินดี จึงทำ[[บั้งไฟ]]ถวายการเสด็จกลับของพระพุทธเจ้าจนกลายเป็นประเพณีทุกปี<ref>{{cite web|title = ตำนานกำเนิด โขง-ชี-มูล-หนองหาน สายน้ำแห่งชีวิตของคนอีสาน | url = https://www.silpa-mag.com/history/article_39705 | author = สุจิตต์ วงษ์เทศ | date = 2 October 2019 | publisher = ศิลปวัฒนธรรม}} </ref>
 
==== ในฐานะเทพแห่งน้ำ ====
[[ไฟล์:Anekchatbhuchongse bow.jpg|thumb|250px|โขนเรือ (หัวเรือ) [[เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์|อเนกชาติภุชงค์]] ซึ่งทำเป็นรูปหัวพญานาค]]
นาคเป็นสัญลักษณ์ของน้ำ จึงปรากฏความเชื่อเรื่องนาคที่เกี่ยวกับน้ำไว้ในด้านต่าง ๆ ดังเช่น ใน[[ตำนานสิงหนวัติ]] กล่าวว่า เมื่อเจ้าเมืองสิงหนวัติอพยพคนมาจากทางเหนือ พญานาคแปลงกายมาช่วยชี้ที่ตั้งเมืองใหม่ และขอให้อยู่ในทศพิธราชธรรม พอตก[[กลางคืน]]ก็ขึ้นมาสร้างคูเมือง 4 ด้าน เป็น เมืองนาคพันธุ์สิงหนวัติ ต่อมาเมื่อยกทัพปราบเมืองอื่นได้ และรวมดินแดนเข้าด้วยกัน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น แคว้นโยนกนาคราช<ref>{{cite web|url = https://www.silpa-mag.com/history/article_2888 | author = มานิต วัลลิโภดม | date = 25 October 2018 | publisher = ศิลปวัฒนธรiม | title = สำรวจความเชื่อ “นาคสร้างเมืองมนุษย์” ที่ภายหลังคือเมือง “เชียงแสน”}}</ref>
นอกจากนี้ยังปรากฏความเชื่อเรื่องนาคในคำเสี่ยงทายปริมาณของน้ำและ[[ฝน]]ที่จะตกในแต่ละปี เรียกว่า "นาคให้น้ำ" จำนวนนาคให้น้ำมีตั้งแต่ 1 ถึง 7 ตัว ถ้าปีไหนอุดมสมบูรณ์มีน้ำมากเรียกว่า "นาคให้น้ำ 1 ตัว" แต่หากปีไหนแห้งแล้งเรียกว่าปีนั้น "มีนาคให้น้ำ 7 ตัว" ด้วยความเชื่อว่าพญานาคเกี่ยงกันให้น้ำ แต่ละตัวจึงกลืนน้ำไว้ในท้องไม่ยอมพ่นน้ำลงมา ซึ่งคำทำนายเรื่องนาคให้น้ำนี้ จะปรากฏเห็นได้ชัดที่สุดใน[[พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ]] ใน[[วันพืชมงคล]]ของแต่ละปี<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/199928 |author = กิเลน ประลองเชิง | date = 8 September 2011| publisher = ไทยรัฐ | title = นาคให้น้ำ}}</ref>
 
==== ในงานศิลปะ ====
ใน[[ประติมากรรมไทย]]และลาว มักจะเห็นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับนาคได้เสมอ ในงาน [[จิตรกรรม]] [[ประติมากรรม]] และ[[หัตถกรรม]] นาคเป็นส่วนประกอบที่สำคัญทางสถาปัตยกรรมของวัดและวัง ตามคตินิยมที่ว่า "นาคยิ่งใหญ่คู่ควรกับสถาบันอันสูงส่ง" เช่นที่พบในการสร้าง [[นาคสะดุ้ง]] ที่ทอดลำตัวยาวตามบันได, [[เครื่องลำยอง|นาคลำยอง]] ซึ่งเป็นป้านลมหลังคาโบสถ์ ที่ต่อเชื่อมกับนาคสะดุ้ง, นาคเบือน, นาคจำลอง และ[[นาคทันต์]] หรือ[[คันทวย]]รูปพญานาค และแม้แต่ในโขนเรือ (หัวเรือ) ของ[[เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช]] และ[[เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์]] ในขบวนเรือ[[กระบวนพยุหยาตราชลมารค]]
นอกจากนี้ในประเทศไทยมีการนำความเชื่อเรื่องการเกิด[[พระธันวันตริ]] เทพเจ้าแห่ง[[อายุรเวท|การแพทย์ในคติฮินดู]] และน้ำอมฤต จากการกวนเกษียรสมุทร มาเกี่ยวพันกับสัญลักษณ์ของการแพทย์ในประเทศไทย โดยได้นำลักษณะของพญานาคมาประกอบโดยเชื่อมโยงกับตำนานดังกล่าวมาประยุกต์ใช้แทนงูในสัญลักษณ์การแพทย์สากล[[คทาแอสคลีเพียส]] และ[[คทางูไขว้]]ที่มักถูกใช้สลับกัน ดังที่พบในตราประจำ[[สภาการแพทย์แผนไทย]]<ref>{{cite web|url = http://www.thaimed.or.th/?page_id=772 | title = ความหมายของโลโก้สภาการแพทย์แผนไทย| author = สภาการแพทย์แผนไทย}}</ref>, [[สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์แห่งประเทศไทย]] และในตราเดิมของ[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]<ref>เอกสารประชาสัมพันธ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2561)</ref> เป็นต้น
 
== ดูเพิ่ม ==
*[[ปลาออร์]]
*[[บั้งไฟพญานาค]]
*[[ครุฑ]]
*[[ป่าคำชะโนด]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{refbegin}}
* {{Citation | last=Béer | first=Robert | year=1999 | url=https://books.google.com/books?id=3IvrAAAAMAAJ&dq=editions:jMCICh42oEAC | title=The Encyclopedia of Tibetan Symbols and Motifs| publisher=Shambhala| isbn=978-1-57062-416-2 }}
* {{Citation |last1=Müller-Ebeling|first1=Claudia|last2= Rätsch|first2=Christian|last3=Shahi|first3=Surendra Bahadur|year=2002|title=Shamanism and Tantra in the Himalayas| publisher=Inner Traditions|isbn= 9780892819133}}
* {{Citation |last=Maehle|first=Gregor|year=2007|title=Ashtanga Yoga: Practice and Philosophy|publisher=New World Library|isbn=978-1-57731-606-0 }}
* {{Citation |last=Norbu|first=Chögyal Namkhai|year=1999|title=The Crystal and The Way of Light: Sutra, Tantra and Dzogchen|publisher=Snow Lion Publications|isbn=1-55939-135-9 }}
* {{Citation |last=Hāṇḍā|first=Omacanda|year=2004|url=https://books.google.com/books?id=Xd50t19YpJEC|title=Naga cults and traditions in the western Himalaya|publisher=Indus Publishing |isbn=9788173871610}}
* {{Citation |last=Visser|first=Marinus Willem de|year=1913|url=https://archive.org/details/cu31924021444728|title=The dragon in China and Japan|publisher=Amsterdam:J. Müller}}
* {{Citation |last=Vogel|first=J. Ph.|year=1926|url=https://books.google.com/?id=caskYEbIQDoC&pg=PA38&dq=naga+serpent#v=onepage&q=naga%20serpent&f=false|title= Indian serpent-lore; or, The Nāgas in Hindu legend and art|publisher=London, A. Probsthain|isbn=9788120610712}}
{{refend}}
 
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Nāga|นาค}}
 
[[หมวดหมู่:พญานาค| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นาค"