ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุภาคแอลฟา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มแหล่งอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{ขาดอ้างอิง}}
'''อนุภาคแอลฟา''' (เขียนแทนด้วย[[อักษรกรีก]] [[แอลฟา]] α) คืออนุภาคที่ประกอบด้วย[[โปรตอน]] 2 ตัวและ[[นิวตรอน]] 2 ตัว เหมือนกับนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ[[ฮีเลียม]] (He) จึงสามารถเขียนสัญลักษณ์ได้อีกอย่างหนึ่งเป็น <math>He^{2+}\,\!</math> หรือ <math>{}^4_2He^{2+}</math><ref>{{cite web|url=http://www0.tint.or.th/nkc/nkc5001/nkc5001d.html|title=รังสีแอลฟา (alpha rays)|publisher=สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ|author=สุรศักดิ์ พงศ์พันธุ์สุข}}</ref> อนุภาคแอลฟาหนึ่งอนุภาคมี[[มวล]] 6.644656×10<sup>−27</sup> [[กิโลกรัม]]<ref>{{cite web|url=https://physics.nist.gov/cgi-bin/cuu/Value?mal|title=alpha particle mass|publisher=NIST}}</ref> หรือเทียบเท่ากับ[[พลังงาน]] 3.72738 [[จิกะ]][[อิเล็กตรอนโวลต์]] (GeV) มีประจุเป็น +2e โดยที่ e คือความจุไฟฟ้าของ[[อิเล็กตรอน]]ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.602176462×10<sup>−19</sup> [[คูลอมบ์]]
 
อนุภาคแอลฟามักเกิดจากการสลายของอะตอมของ[[ธาตุกัมมันตรังสี]] เช่น[[ยูเรเนียม]] (U) หรือ[[เรเดียม]] (Ra) ด้วยกระบวนการที่รู้จักกันในชื่อ[[การสลายให้อนุภาคแอลฟา]] (alpha decay) เมื่ออนุภาคแอลฟาถูกปลดปล่อยออกจากนิวเคลียส [[มวลอะตอม]]ของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงประมาณ 4.0015 [[หน่วยมวลอะตอม|u]] เนื่องจากการสูญเสียทั้งโปรตอนและนิวตรอน และ[[เลขอะตอม]]จะลดลง 2 ทำให้อะตอมกลายเป็นธาตุใหม่ ดังตัวอย่างการสลายให้อนุภาคแอลฟาของยูเรเนียม จะได้ธาตุใหม่เป็น[[ทอเรียม]] (Th)<ref>{{cite web|url=http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=38&chap=7&page=t38-7-infodetail04.html|title=รังสีจากการสลายของไอโซโทป|publisher=มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน}}</ref>
 
<math>{}^{238}_{92}U \rightarrow {}^{234}_{90}Th + {}^4_2He^{2+}</math>
บรรทัด 11:
# มีมวลประมาณ 4 amu
# รังสีแอลฟาสามารถทำให้ตัวกลางที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี
# รังสีแอลฟามีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก สามารถวิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ 3-5 เซนติเมตร เพราะเมื่อรังสีแอลฟาวิ่งผ่านตัวกลาง สามารถทำให้ตัวกลางนั้นแตกตัวเป็นไอออนได้ดี ทำให้เสียพลังงานอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite web|url=https://www.arpansa.gov.au/understanding-radiation/what-is-radiation/ionising-radiation/alpha-particles|title=Alpha particles|publisher=ARPANSA}}</ref>
 
== การใช้งาน ==
ประโยชน์ของรังสีแอลฟามีเช่น การนำรังสีแอลฟามาใช้สร้างเป็นเครื่องมือวัดควัน<ref>{{cite web|url=https://www.scribd.com/document/14390291/Smoke-Detector-Technology-Research-Chief-Jay-Fleming|title=Smoke Detector Technology Research|publisher=The World Fire Safety Foundation|author=Chief Jay Fleming}}</ref>
 
อันตรายจากรังสีแอลฟา กรณีที่เรากินอาหารที่มีรังสีแอลฟาเข้าไปเมื่อรังสีแอลฟาเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะไม่ทะลุทะลวงจึงเป็นอันตรายต่อเชลล์ในร่ายกาย ส่วนอันตรายจากการแผ่รังสีโดยตรงอาจไม่เป็นอันตรายมากเท่ากับรังสีชนิดอื่น