ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิอากาศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4285:6FB1:904F:1F5:7F3F:F62D (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Mr.BuriramCN
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Thailand map of Köppen climate classification.svg|thumb|แผนที่ประเทศไทยแสดง[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน]]:<br>(Aw) [[ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา]]<br>(Am) [[ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน]]<br>(Af) [[ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น]]]]
 
<span lang="t" dir="ltr"><code>ป</code></span>ระเทศประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตร้อนใกล้[[เส้นศูนย์สูตร]] ทำให้ '''ภูมิอากาศ''' ของประเทศมีลักษณะเป็นแบบร้อนชื้นหรือ[[ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา]] (Aw) ตาม[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน]] ในขณะที่[[ภาคใต้ (ประเทศไทย)|ภาคใต้]]และทางตะวันออกสุดของ[[ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออก]]เป็นเขต[[ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน]] (Am) ทั่วประเทศมีอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่าง 19-38 [[องศาเซลเซียส]] อากาศจะร้อนที่สุดช่วงกลางเดือนเมษายน หลังจากนั้น ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือทำให้ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝนและฤดูหนาวตามลำดับ พื้นที่ทั้งประเทศได้รับปริมาณฝนอย่างเพียงพอ ยกเว้นบางพื้นที่เท่านั้น แต่ระยะเวลาของฤดูฝนและปริมาณฝนมีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาคและระดับความสูง
 
== ปัจจัยภูมิอากาศในประเทศไทย ==