ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟิสิกส์ของอนุภาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
== อนุภาคย่อยของอะตอม ==
[[ไฟล์:Standard Model of Elementary Particles.svg|right|345px|thumb|เนื้อหาของอนุภาคที่เป็นแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์]]
{| class="wikitable" style="float:right; margin-left:1em; background:#FFF;"
|+ อนุภาคมูลฐาน
|-
!
! scope="col" | [[Generation (particle physics)|ชนิด]]
! scope="col" | [[Generation (particle physics)|รุ่นในตระกูล]]
! scope="col" | [[ปฏิอนุภาค]]
! scope="col" | [[ประจุสี]]
! scope="col" | Total
|-
! scope="row" style="background:#DAF;" | [[ควาร์ก]]
| rowspan="2" align="center"| 2
| rowspan="2" align="center"| 3
| align="center"|คู่
| align="center"|3
| align="center"|36
|-
! scope="row" style="background:#AF7;" | [[Lepton]]s
| align="center"|คู่
| align="center"|ไม่มี
| align="center"|12
|-
! scope="row" style="background:#F97;" | [[Gluon]]s
|rowspan="5" align="center"|1
|rowspan="5" align="center"|1
| align="center"|เดี่ยว
| align="center"|[[Gluon#Eight gluon colors|8]]
| align="center"|8
|-
! scope="row" style="background:#F97;" | [[Photon]]
| align="center"|เดี่ยว
| align="center" rowspan="4"|ไม่มี
| align="center"|1
|-
! scope="row" style="background:#F97;" | [[W and Z bosons|Z Boson]]
| align="center"|เดี่ยว
| align="center"|1
|-
! scope="row" style="background:#F97;" | [[W and Z bosons|W Boson]]
| align="center"|คู่
| align="center"|2
|-
! scope="row" style="background:#FE7;" | [[Higgs boson|Higgs]]
| align="center"|Own
| align="center"|1
|-
! colspan="5" align="right" ! scope="col" | จำนวนโดยรวม(เท่าที่รู้)ของอนุภาคมูลฐาน :
| align="center"|'''61'''
|}
 
การวิจัยด้านฟิสิกส์ของอนุภาคที่ทันสมัยจะมุ่งเน้นไปที่อนุภาคของอะตอมย่อย ({{lang-en|subatomic particle}}) รวมทั้งองค์ประกอบที่สร้างขึ้นเป็นอะตอมเช่นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน (โปรตอนและนิวตรอนเป็นอนุภาคผสมที่เรียกว่าแบริออน ทำจากหลายควาร์ก) ที่ผลิตโดยกระบวนการกัมมันตรังสีและการกระจัดกระจาย เช่นโฟตอน นิวตริโน และมิวออน เช่นเดียวกับอีกหลากหลายของอนุภาคที่แปลกใหม่ ไดนามิกส์ของอนุภาคทั้งหลายยังถูกควบคุมโดยกลศาสตร์ควอนตัมอีกด้วย; โดยพวกมันจะแสดงออกเป็นสองภาคของคลื่นและของอนุภาค ({{lang-en|wave–particle duality}}) นั่นคือมันจะแสดงพฤติกรรมเหมือนกับเป็นอนุภาคภายใต้สภาวะการทดลองบางอย่างและพฤติกรรมเหมือนกับเป็นคลื่นในสภาวะอื่น ๆ ในความหมายทางเทคนิคมากขึ้น พวกมันจะถูกอธิบายโดยเวกเตอร์ของสภาวะควอนตัมใน Hilbert space, ซึ่งถูกปฏิบัติในทฤษฎีสนามควอนตัมเช่นกัน หลังจากการประชุมของนักฟิสิกส์ด้านอนุภาค คำว่าอนุภาคมูลฐานถูกนำไปใช้กับอนุภาคเหล่านั้นที่ถูก(ตามที่เข้าใจในปัจจุบัน)สันนิษฐานว่าเป็นพวกที่แบ่งแยกไม่ได้และไม่ประกอบด้วยอนุภาคอื่น ๆ<ref>Braibant, S.; Giacomelli, G.; Spurio, M. (2009). Particles and Fundamental Interactions: An Introduction to Particle Physics. Springer. pp. 313–314. ISBN 978-94-007-2463-1.</ref>
 
อนุภาคและปฏิสัมพันธ์ของพวกมันที่ถูกสังเกตจนถึงวันนี้ทั้งหมด สามารถอธิบายได้เกือบทั้งหมดโดยทฤษฎีสนามควอนตัมที่เรียกว่าแบบจำลองมาตรฐาน<ref name="ifj">{{cite web|title=Particle Physics and Astrophysics Research|url=http://www.ifj.edu.pl/pro/fiz_astro.php?lang=en|publisher=The Henryk Niewodniczanski Institute of Nuclear Physics|accessdate=31 May 2012}}</ref> ซึ่งแบบจำลองมาตรฐานนี้ตามสมมติฐานปัจจุบันมี 61 อนุภาคมูลฐาน<ref name="braibant">
{{cite book
|last1=Braibant |first1=S.
|last2=Giacomelli |first2=G.
|last3=Spurio |first3=M.
|year=2009
|title=Particles and Fundamental Interactions: An Introduction to Particle Physics
|url=https://books.google.com/?id=0Pp-f0G9_9sC&pg=PA314&lpg=PA314&dq=61+fundamental+particles#v=onepage&q=61%20fundamental%20particles&f=false
|pages=313–314
|publisher=[[Springer Science+Business Media|Springer]]
|isbn=978-94-007-2463-1
}}</ref> อนุภาคมูลฐานเหล่านั้นสามารถรวมกันเป็นอนุภาคผสม, ทำให้เกิดหลายร้อยสายพันธุ์อื่น ๆ ของอนุภาคที่มีการค้นพบมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 แบบจำลองมาตรฐานถูกรับพบว่าเห็นด้วยกับเกือบทุกการทดสอบในแบบทดลองที่ถูกดำเนินการจนถึงวันนี้ อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่ของนักฟิสิกส์ด้านอนุภาคเชื่อว่ามันเป็นคำอธิบายที่ไม่สมบูรณ์ของธรรมชาติและเชื่อว่าทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานมากกว่ากำลังรอคอยการค้นพบ (ดูทฤษฎีของทุกสิ่ง) ในปีที่ผ่านมาการตรวจวัดมวลของนิวตริโนได้ให้ผลลัพธ์ที่เบี่ยงเบนไปจากการทดลองเป็นครั้งแรกจากแบบจำลองมาตรฐาน {{clarify|date=March 2014}}
 
== ประวัติ ==