ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 379:
| 375<br>374
|
B74R: [[ท่าอากาศยานนานาชาติกว่างโจวไป๋-ยฺหวิน|กวางกว่างโจว]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ|ซิดนีย์]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง|ฮ่องกง]], [[ท่าอากาศยานชิโตะเซะแห่งใหม่|ซัปโปะโระ]], [[ท่าอากาศยานซูริก|ซูริก]],
[[ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว|โตเกียว-ฮะเนะดะ]], [[มุมไบ]] <br> B74N: [[ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว|โตเกียว-ฮะเนะดะ]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติคิงส์ฟอร์ดสมิธ|ซิดนีย์]], [[ท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะ|โตเกียว-นะริตะ]], [[ท่าอากาศยานชิโตะเซะแห่งใหม่|ซัปโปะโระ]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่|เชียงใหม่]], [[ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต|ภูเก็ต]], [[ท่าอากาศยานซูริก|ซูริก]]
|-
| [[โบอิง 777|โบอิง 777-200]]
เส้น 456 ⟶ 457:
 
=== การจัดหา/ปลดระวาง ===
[[ไฟล์:Thai777.JPG|thumb|left|200px|ลายเครื่องบินการบินไทยแบบเก่า (ลำขวา) และลายแบบใหม่ (ลำซ้าย) ของโบอิง 777-200]][[ไฟล์:Thai Airways tails-KayEss-2.jpeg|thumb|right|ที่[[ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง|ดอนเมือง]]]]
 
ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2560 อายุเฉลี่ยของฝูงบินของการบินไทยอยู่ที่ 9.3 ปี<ref>https://www.planespotters.net/airline/Thai-Airways-International</ref>
 
การบินไทยปลดระวาง Boeing 747-400 6 ลำ และปรับปรุงที่นั่งในชั้นทุกชั้น จำนวน 12 ลำ จะปลดระวางระหว่าง พ.ศ. 2555-2556<br>A300-600 15 ลำ กรกฎาคม 2557 737-400 10 ลำ กันยายน 2561 ATR72-201 มีนาคม 2549 ลำที่สอง พฤศจิกายน 2552<br>A330-322 12 ลำ สิงหาคม 2560 A340-500 4 ลำ A340-600 6 ลำ B747-400 2 ลำ มีนาคม 2558
ปลดระวาง A300-600 15 ลำ บินครั้งสุดท้าย 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557<br>
[[ไฟล์:ThaiA380FRA.JPG|thumb|250px|[[แอร์บัส เอ 380|แอร์บัส 380-841]] การบินไทย]]
ปลดระวาง Boeing 737-400 10 ลำ จะปลดระวางระหว่าง พ.ศ. 2558-2561 บินครั้งสุดท้าย 2 กันยายน พ.ศ. 2561<br>
ปลดระวาง ATR72-201 2 ลำ ปลดระวางลำแรก เดือน มีนาคม พ.ศ. 2549 ลำที่สอง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2552<br>
ปลดระว่าง A330-322 12 ลำทั้งหมดใน เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2560 <br>
จอดเครื่องรอขาย A340-500 4 ลำ จอดเครื่องรอขาย A340-600 6 ลำ บินครั้งสุดท้าย เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558<br>
การบินไทยปลดระวาง B747-400BCF 2 ลำในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558
[[ไฟล์:ThaiA380FRA.JPG|thumb|250px|[[แอร์บัส เอ 380|แอร์บัส เอ 380-841]] ของการบินไทย]]
 
การบินไทยสั่งซื้อเครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 380]] จำนวน 6 ลำ ซึ่งจะส่งมอบตั้งแต่ พ.ศ. 2555-2556
จัดหาเข้าประจำการ A330-343X 15 ลำ มาครบแล้วเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556<br>
B777-300ER สั่งซื้อ 6 ลำ กำหนดมอบส่งครบทุกลำเมื่อ กันยายน พ.ศ. 2558<br>
A350-900 ซื้อ 4 ลำ กำหนดมอบส่งครบ พ.ศ. 2559-2560<br>
A350-900 พ.ศ. 2559-2560 เช่าซื้อ 8 ลำโดยแบ่งเป็น 6 ลำ เช่าซื้อจาก (ALAFCO) ส่งมอบ พ.ศ. 2559 และ 2 ลำ เช่าซื้อจาก (CIT) ส่งมอบ พ.ศ. 2560<br> B787-8 เช่าซื้อ 6 ลำ มาครบแล้วในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558<br> B787-9 เช่าซื้อ 2 ลำ ได้มาครบในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560<br>
 
=== ฝูงบินในประวัติศาสตร์ ===
7 พฤษภาคม 2556<br>B777-300ER สั่งซื้อ 6 ลำ กันยายน 2558 A350-900 ซื้อ 4 ลำ 2559-2560 A350-900 2559-2560 เช่าซื้อ 8 ลำ<br>B787-8 เช่าซื้อ 6 ลำ สิงหาคม 2558 B787-9 เช่าซื้อ 2 ลำ พฤศจิกายน 2560<br>
 
=== ฝูงบิน ===
{| class="wikitable" border="1" cellpadding="4" style="border-collapse:collapse;text-align:center; margin: 1em auto;"
|+ฝูงบินในประวัติศาสตร์
!เครื่องบิน
!ทั้งหมด
!ปีที่เริ่มใช้
!ปีที่ปลดประจำการ
!หมายเหตุ
|-
|[[เอทีอาร์ 42|เอทีอาร์ 42-320]]
|2
|พ.ศ. 2533
|พ.ศ. 2541
| -
|-
|[[เอทีอาร์ 72|เอทีอาร์ 72-201]]
|2
|พ.ศ. 2533
|พ.ศ. 2552
| -
|-
|[[แอร์บัส เอ300|แอร์บัส เอ 300B4]]
|14
|พ.ศ. 2520
|พ.ศ. 2541
| -
|-
|[[แอร์บัส เอ300|แอร์บัส เอ 300-600R]]
|21
|พ.ศ. 2528
|พ.ศ. 2557
| -
|-
|[[แอร์บัส เอ310|แอร์บัส เอ 310-200]]
|2
|พ.ศ. 2531
|พ.ศ. 2544
|โอนย้ายจาก[[เดินอากาศไทย]]
|-
|[[แอร์บัส เอ310|แอร์บัส เอ 310-300]]
|2
|พ.ศ. 2533
|พ.ศ. 2536
| -
|-
|[[แอร์บัส เอ320|แอร์บัส เอ 320-200]]
|5
|พ.ศ. 2557
|พ.ศ. 2559
|ทั้งหมดได้โอนไปยัง[[การบินไทยสมายล์]]
|-
|[[แอร์บัส เอ340|แอร์บัส เอ 340-500]]
|4
|พ.ศ. 2548
|พ.ศ. 2555
|เครื่องบินหนึ่งลำที่จำหน่ายให้กับ[[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]]
|-
|[[แอร์บัส เอ340|แอร์บัส เอ 340-600]]
|6
|พ.ศ. 2548
|พ.ศ. 2558
|
|<nowiki>-</nowiki>
|-
|[[โบอิง 737|โบอิ้ง 737-200]]
|3
|พ.ศ. 2531
|พ.ศ. 2536
|โอนย้ายจาก[[เดินอากาศไทย]]
|-
|[[โบอิง 737|โบอิ้ง 737-400]]
|10
|พ.ศ. 2533
|พ.ศ. 2561
| -
|-
|[[โบอิง 747|โบอิ้ง 747-200B]]
|6
|พ.ศ. 2522
|พ.ศ. 2540
| -
|-
|[[โบอิง 747|โบอิ้ง 747-200SF]]
|1
|พ.ศ. 2539
|พ.ศ. 2542
| -
|-
|[[โบอิง 747|โบอิ้ง 747-300]]
|2
|พ.ศ. 2530
|พ.ศ. 2550
| -
|-
|[[โบอิง 747-400|โบอิ้ง 747-400BCF]]
|2
|พ.ศ. 2555
|พ.ศ. 2558
| -
|-
|[[โบอิง 777|โบอิ้ง 777F]]
|2
|พ.ศ. 2553
|พ.ศ. 2555
| -
|-
|บีเออี 146-100
|1
|พ.ศ. 2532
|พ.ศ. 2534
| -
|-
|บีเออี 146-200
|1
|พ.ศ. 2532
|พ.ศ. 2533
| -
|-
|บีเออี 146-300
|9
|พ.ศ. 2532
|พ.ศ. 2541
| -
|-
|บอมบาร์ดิเอร์ ชาเลนเจอร์ CL-601-3A-ER
|1
|พ.ศ. 2534
|{{Unknown}}
| -
|-
|คอนแวร์ 990 โคโรนาโด
|1
|พ.ศ. 2505
|{{Unknown}}
|ดำเนินการโดย[[สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม|สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์]]
|-
|[[ดักลาส ดีซี-8|ดักลาส ดีซี-8-33]]
|7
|พ.ศ. 2513
|พ.ศ. 2521
| -
|-
|[[ดักลาส ดีซี-8|ดักลาส ดีซี-8-63]]
|3
|พ.ศ. 2517
|พ.ศ. 2527
| -
|-
|[[ดักลาส ดีซี-8|ดักลาส ดีซี-8-60F]]
|5
|พ.ศ. 2520
|พ.ศ. 2528
| -
|-
|Hawker Siddeley HS-748-243
|6
|พ.ศ. 2507
|พ.ศ. 2530
| -
|-
|[[แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-9|แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-9-41]]
|2
|พ.ศ. 2513
|พ.ศ. 2515
| -
|-
|[[แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10|แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10-30]]
|6
|พ.ศ. 2518
|พ.ศ. 2530
| -
|-
|[[แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10|แมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10-30ER]]
|3
|พ.ศ. 2530
|พ.ศ. 2541
| -
|-
|[[แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11]]
|4
|พ.ศ. 2534
|พ.ศ. 2548
| -
|-
|ซัด เอวิเอชั่น SE-210 คาราเวล III
|5
|พ.ศ. 2507
|{{Unknown}}
| -
|-
|}
เส้น 691 ⟶ 700:
รอยัลออร์คิดพลัส (Royal Orchid Plus หรือ ROP) เป็นรายการสะสมแต้มการบินของการบินไทย ซึ่งนับเป็นรายการแรกของประเทศไทย มีสมาชิกจากทั่วโลกมากกว่า 2 ล้านคน
 
'''ระดับสมาชิก''' มีของรอยัลออร์คิดพลัสมี 4 ระดับชั้น ได้แก่
 
* สมาชิก - สำหรับสมาชิกทั่วไป
* สมาชิก ทั่วไป ซิลเวอร์ 10,000-15,000 โกลด์ 50,000-80,000 การบินไทย 1 ปี
* ซิลเวอร์ - ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 10,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ 15,000 Q ไมล์จากวันเริ่มต้นจนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] ของปี
* แพลทินัม สมาชิกภาพบัตรแพลทินัมได้สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษมอบแด่ท่านสมาชิกที่มีเอกลักษณ์ในการเดินทางที่โดดเด่นเลือกเดินทางอย่างมีระดับชั้นหนึ่ง รอยัล เฟิร์ส รอยัล ซิลค์ การบินไทยเสมอมาตลอดจนเป็นผู้ที่ดำรงสถานภาพบัตรทองมายาวนานเป็นผู้ที่ได้รับการเรียนเชิญรอยัลพลัสเท่านั้น
* โกลด์ - ต้องมีไมล์สะสมตั้งแต่ 50,000 Q ไมล์ ใน 1 ปี หรือ, 80,000 Q ไมล์ จากวันที่เริ่มต้นจนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] ของปี, หรือใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศตั้งแต่ 40 เที่ยวบินกับการบินไทย ภายใน 1 ปี
* แพลทินัม - สมาชิกภาพบัตรแพลทินัมได้สร้างสรรค์ขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อมอบแด่ท่านสมาชิกที่มีเอกลักษณ์ในการเดินทางที่โดดเด่น รวมถึงการเลือกเดินทางอย่างมีระดับในชั้นหนึ่ง รอยัล เฟิร์สเฟิร์สท และชั้นธุรกิจ รอยัล ซิลค์ กับการบินไทยเสมอมา ตลอดจนเป็นผู้ที่ดำรงสถานภาพบัตรทองมายาวนาน และเป็นผู้ที่ได้รับการเรียนเชิญจากรอยัลพลัสเท่านั้น ออร์คิด พลัส เท่านั้น
 
<br />
เส้น 703 ⟶ 714:
* Partner Mile เป็นการสะสมสิทธิ์จากการใช้บริการอื่น ๆ ที่เป็นแนวร่วมกับสายการบินไทย เช่นบัตรเครดิตที่ร่วมรายการโอนคะแนนสะสมไมล์, โรงแรมที่พัก หรือสินค้าบริการอื่น ๆ ที่เข้าร่วมรายการ
 
== อุบัติการณ์และอุบัติเหตุ ==
{{บทความหลัก|อุบัติการณ์และอุบัติเหตุบนเที่ยวบินการบินไทย}}
 
[[ไฟล์:TG114 on fire 20010303.jpg|230px|thumb|อุบัติเหตุกับเครื่องการบินไทย เที่ยวบินทีจี 114 เมื่อ 3 มีนาคม พ.ศ. 2544]]
[[ไฟล์:1153039560sttops 2405.jpg|230px|thumb|อุบัติการณ์กับเครื่องการบินไทย เที่ยวบินทีจี 943 เมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2549]]
การบินไทยมีอุบัติการณ์มากกว่าอุบัติเหตุ ซึ่งหมายถึงการทำการบินที่ผู้โดยสารบาดเจ็บเล็กน้อยหรือไม่บาดเจ็บเลย รวมถึงการขู่ว่ามีการวาง[[ระเบิด]] อย่างไรก็ตาม อุบัติการณ์และอุบัติเหตุของการบินไทยค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับสายการบินอื่น ๆ ทั่วโลก
* [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510|2510]] [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2510|2510]] [[10 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2516|2516]] [[31 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2535|2535]] [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541|2541]] [[3 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544|2544]] [[30 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2556|2556]] [[8 กันยายน]] [[พ.ศ. 2556|2556]]
 
* [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510]] - [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 601]] เครื่องบิน Sud Aviation SE-210 Caravelle III ทะเบียน HS-TGI ของการบินไทย บินจากซงชาน กรุงไทเป ไปยังสนามบินฮ่องกง (ไคตั๊ก) เกิดอุบัติเหตุเครื่องบินตกขณะทำการลงจอดในขณะที่มีพายุไต้ฝุ่น เสียชีวิต 24 คน บาดเจ็บหนัก 56 คน โดยมีผู้โดยสารทั้งหมด 73 คน ลูกเรือ 7 คน<ref>http://aviation-safety.net/database/record.php?id=19670630-1</ref>
* [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2558|2558]] [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2559|2559]] [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2559|2559]] 4 ธันวาคม 2560 11 เมษายน 2561 24 กรกฎาคม 2561 3 ตุลาคม 2561 8 ตุลาคม 2561
 
* [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2510]] - [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 002]] เครื่องบิน Douglas DC-3 ทะเบียน HS-TDH บินจากกรุงเทพไปเชียงใหม่ประสบอุบัติเหตุตก มีผู้โดยสารเสียชีวิต 2 คน ลูกเรือ 2 คน จากจำนวนผู้โดยสาร 28 คน ลูกเรือ 3 คน<ref>http://www.planecrashinfo.com/1967/1967-92.htm </ref>
 
* [[10 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2516]] - การบินไทยไม่ทราบเทื่ยวบิน เครื่องบิน Douglas DC-8 ทะเบียน HS-TGU บินจากกรุงเทพไปเนปาลเกิดอุบัติเหตุลื่นไถลออกนอกรันเวย์มีผู้เสียชีวิตที่ภาคพื้นดินเป็นประชาชนชาวเนปาล 1 ราย<ref>http://aviation-safety.net/database/record.php?id=19730510-1</ref>
 
* [[31 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2535]] - [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 311]] เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 310|แอร์บัส เอ 310-304]] ทะเบียน HS-TID ของการบินไทย ชนเทือกเขา 35 กม. ทางเหนือของ[[กาฎมานฑุ]] ผู้โดยสาร 113 คนเสียชีวิต (ผู้โดยสาร 99 คน และ พนักงาน 14 คน) สาเหตุเกิดจากปัญหาทางเทคนิคและหลงทิศเนื่องจากสภาพอากาศปิด<ref>[http://planecrashinfo.com/1992/1992-35.htm รายละเอียดเครื่องบินตก 2535]</ref>
 
* [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541]] – [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 261]] เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 310|แอร์บัส เอ 310-304]] ทะเบียน HS-TIA ของการบินไทย จาก[[กรุงเทพ]]ไป[[สุราษฎร์ธานี]] ตกสาเหตุเนื่องจากฝนตกหนักมาก ผู้โดยสาร 102 คน จาก 143 คน เสียชีวิต<ref>[http://www.planecrashinfo.com/1998/1998-43.htm รายละเอียดเครื่องบินตก 2541]</ref>
 
* [[3 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2544]] – [[การบินไทย เที่ยวบินที่ 114]] เครื่องบิน[[โบอิง 737|โบอิง 737-4D7]] ทะเบียน HS-TDC ของการบินไทย จาก[[กรุงเทพ]]ไป[[เชียงใหม่]] เกิดระเบิดขึ้นในขณะที่จอดที่สนามบิน เสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บ 8คน สาเหตุเกิดจากน้ำมันกับอากาศเข้าผสมกัน และเกิดการสันดาปขึ้นในส่วนของถังน้ำมันเนื่องจากสภาพอากาศร้อนจัด<ref>[http://www.planecrashinfo.com/2001/2001-14.htm รายละเอียดเครื่องบินระเบิด 2544]</ref>
 
* [[30 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2556]] - [[การบินไทยเที่ยวบินที่ 600]] เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 380|แอร์บัส 380-841]]ทะเบียน HS-TUA ของการบินไทยจาก[[กรุงเทพ]]ไป[[ฮ่องกง]]เกิดตกหลุมอากาศผู้โดยสารบาดเจ็บ 38 ราย ลูกเรือบาดเจ็บ 9 รายลูกเรือบาดเจ็บสาหัส 1 ราย ภายในเครื่องบินได้รับความเสียหาย<ref>http://avherald.com/h?article=467ab3da&opt=0</ref>
 
* [[8 กันยายน]] [[พ.ศ. 2556]] - [[การบินไทยเที่ยวบินที่ 679]] เครื่องบิน [[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส 330-300]] ทะเบียน HS-TEF ของการบินไทย จาก[[กวางโจว]]ไป[[กรุงเทพ]] เกิดอุบัติเหตุล้อหลังด้านขวาของเครื่องบินขัดข้อง ขณะร่อนลงจอดที่สนามบินสุวรรณภูมิ ส่งผลให้เครื่องบินไถลออกนอกรันเวย์มีผู้โดยสารได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย 12 ราย<ref>[http://avherald.com/h?article=4681fccd&opt=0 Accident: Thai A333 at Bangkok on Sep 8th 2013, runway excursion on landing]</ref>
 
* [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2558]] - [[การบินไทยเที่ยวบินที่ 641]] เครื่องบิน [[แอร์บัส เอ 340|แอร์บัส 340-600]] ทะเบียน HS-TNF ของการบินไทย จาก[[นะริตะ]]ไป[[กรุงเทพ]] เกิดอุบัติเหตุตกหลุมอากาศผู้โดยสารบาดเจ็บเล็กน้อย 12 ราย<ref>[http://avherald.com/h?article=4826ce27&opt=0 Accident: Thai A340 at Bangkok on Feb 26th 2015, turbulence in the airspace]</ref>
 
* [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2559]] - [[การบินไทยเที่ยวบินที่ 434]] เครื่องบิน [[โบอิง 777|โบอิง 777-200]] ทะเบียน HS-TJH ของการบินไทย จาก[[จาร์กาตา]]ไป[[กรุงเทพ]] เกิดอุบัติเหตุตกหลุมอากาศผู้โดยสารบาดเจ็บเล็กน้อย 6 ราย<ref>[http://avherald.com/h?article=496ca895&opt=0 Accident: Thai B777 at Singapore on Apr 12th 2016, turbulence in the airspace]</ref>
 
* [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2559]] - [[การบินไทยเที่ยวบินที่ 221]] เครื่องบิน [[แอร์บัส เอ 350|แอร์บัส 350-900]] ทะเบียน HS-THB ของการบินไทย จากกรุงเทพไปภูเก็ต เกิดอุบัติการณ์ยางล้อแตกขณะลงจอด<ref>http://avherald.com/h?article=49e5774b</ref>
*4 ธันวาคม พ.ศ. 2560 - การบินไทยเที่ยวบินที่ 349 เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส 330-300]] ทะเบียน HS-TES ของการบินไทย เกิดอุบัติการณ์ไถลอกนอกรันเวย์ที่สนามบินอิสลามาบาด<ref>http://avherald.com/h?article=4b1e9702&opt=0</ref>
*11 เมษายน พ.ศ. 2561 - การบินไทยเที่ยวบินที่ 660 เครื่องบิน โบอิง 747-400 ทะเบียน HS-TGX ของการบินไทย เกิดอุบัติการณ์สัญญาณเตือนเครื่องบินลงต่ำเกินไปทำงาน<ref>https://aviation-safety.net/wikibase/wiki.php?id=209441</ref>
*24 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 - การบินไทยเที่ยวบินที่ 321 เครื่องบิน [[โบอิง 777|โบอิง 777-200]] ทะเบียน HS-TJD ของการบินไทย เกิดอุบัติการณ์ยางล้อระเบิดที่ท่าอากาศยานธากา
*3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - การบินไทยเที่ยวบินที่ 349 เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส 330-300]] ทะเบียน HS-TEQ ของการบินไทย เกิดอุบัติการณ์เครื่องบินชนนกขณะลงจอดที่สนามบินอิสลามาบาด<ref>http://avherald.com/h?article=4be96a52&opt=0</ref>
*8 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - [[การบินไทย_เที่ยวบินที่_679#อุบัติการณ์ครั้งที่_2|การบินไทยเที่ยวบินที่ 679]] เครื่องบิน โบอิง 747-400 ทะเบียน HS-TGF ของการบินไทย จาก[[กวางโจว]]ไป[[กรุงเทพ]] เกิดอุบัติการณ์เครื่องลื่นไถลออกนอกรันเวย์
 
== บริษัทร่วมทุน ==
{{ล้าสมัย}}
[[ไฟล์:VTBS-Thai Airways Check-in counters.JPG|thumb|right|เคาน์เตอร์เช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพมหานคร]]
 
การบินไทยถือหุ้นอยู่[[นกแอร์|สายการบินนกแอร์]] 49% นับเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อันดับหนึ่งนกแอร์ได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมการบินไทยตัดสินใจไม่ซื้อหุ้นเพิ่ม
 
การบินไทยเคยถือหุ้นอยู่ใน[[นกแอร์|สายการบินนกแอร์]]อยู่ 49% นับเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อันดับหนึ่ง<ref>http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/business/20110928/411285/กรุงไทยยอมทีจีขายทิ้งหุ้นนกแอร์165ล้าน.html {{dead link}}</ref> ในปี พ.ศ. 2560 นกแอร์ได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท การบินไทยตัดสินใจไม่ซื้อหุ้นเพิ่ม และสัดส่วนหุ้นนกแอร์ที่ถือโดยการบินไทยลดลงจากเดิม 39.2% เหลือ 21.57% (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)<ref>{{cite web |url=http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000054789 |title=“จุฬางกูร” ผงาดหุ้นใหญ่ “นกแอร์” รวม 28.93% “การบินไทย” ลดเหลือ 21.57% |date= 30 พฤษภาคม 2560 |publisher= [[ผู้จัดการออนไลน์]]|access-date= 1 กรกฎาคม 2560}}</ref>
สัดส่วนหุ้นนกแอร์ที่ถือโดยการบินไทยลดลง 21.57% 29 พฤษภาคม 2560
 
นอกจากนั้นบริษัทการบินไทยยังมีบริษัทย่อยดังต่อไปนี้<ref>http://thai.listedcompany.com/misc/ar/20120404-THAI-AR2011-TH.pdf</ref>
# บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อีสต์เอเชีย จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 55
# บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ไทยไฟลท์เทรนนิ่ง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 40
# บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 24
# บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 22.59
== การบินไทยคาร์โก ==
[[ไฟล์:HS-TGJ 3 B747-4D7 BCF Thai Intl Aws Cargo FRA 30JUn13 (9198871529).jpg|thumb|right|การบินไทยคาร์โก้B747-400BCF HS-THJ]]
บริษัทการบินไทยเคยทำกิจการขนส่งเฉพาะสินค้า โดยมีเครื่องบินขนส่งสินค้าเป็นของบริษัทเองในช่วง ปี พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2526 ด้วยเครื่องบิน Douglas DC-8-62F ทะเบียน HS-TGS
 
เส้น 776 ⟶ 810:
ส่วนในชุดสุดท้ายเป็นการออกแบบที่นั่งอีกแบบหนึ่งซึ่งทันสมัยมากที่สุดรหัส A33H ใช้เครื่องยนต์ Rolls Royce Trent 700 นอกจากนั้นแล้วใน 4 ลำดังกล่าวการบินไทยได้เริ่มใช้รหัสใหม่เป็น HS-TBA ซึ่งโดยปกติแล้ว[[แอร์บัส เอ 330]] จะใช้รหัสเป็น HS-TE_ ทั้งนี้เพื่อกันความสับสนของนักบินและลูกเรือซึ่งใน 7 ลำดังกล่าวได้เลิกใช้การติดตั้งเก้าอี้ของบริษัทโคอิโตะในชั้นประหยัด
== กรณีซื้อและเช่าเครื่องบินซึ่งผลดำเนินการขาดทุน ==
[[ไฟล์:Boeing 777-FZB, Thai Cargo (Southern Air) JP6806529.jpg|230px|thumb|B777-FZB ทะเบียน N774SA]]
การบินไทยซื้อเครื่องบินแอร์บัส 340 โดยกรรมการใหญ่ผู้จัดการใหญ่ในขณะนั้น นายกนก อภิรดี ซื้อมาโดยวางแผนบินเส้นทางกรุงเทพไปนิวยอร์ก กรุงเทพไปลอสแอนเจลิส ผลของการซื้อเครื่องบินแบบดังกล่าวคือการขาดทุนมหาศาลทั้งผลการดำเนินงานที่ขาดทุนทุกเที่ยวบินที่บินไปนิวยอร์ก<ref>http://www.forbesthailand.com/article_detail.php?article_id=300</ref> และต่อมาก็ขาดทุนทางบัญชี ค่าเสียโอกาส เนื่องจากการบินไทยเลือกที่จะนำเครื่องบินรุ่นดังกล่าวไปจอดไว้ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองผลจากเรื่องนี้นำมาสู่การยึดอำนาจนายกนก อภิรดี<ref>http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000107850</ref> การบินไทยนับจากการซื้อเครื่องบินเมื่อปี พ.ศ. 2548 จนถึงปี พ.ศ. 2559 ไม่สามารถขายเครื่องบินได้เนื่องจากหากขายเครื่องบินรุ่นดังกล่าวจะต้องขายเครื่องบินแบบขาดทุนอย่างมาก จนไม่มีกรรมการผู้จัดการใหญ่คนใดกล้าขายเพราะต้องเผชิญเสียงวิจารณ์ในทางลบอย่างมากจากภายในบริษัทและภายนอกบริษัท อีกทั้งเสี่ยงต่อการถูกสอบสวน ในข้อหาทำให้บริษัท การบินไทย เสียหายนับว่าเป็นวิกฤตจนถึงปัจจุบันที่เครื่องบินไม่สามารถขายได้และมีค่าเสื่อมราคาลงอย่างต่อเนื่อง
 
นอกจากนั้นแล้วในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ดร.[[ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์]] ได้สั่งโยกย้าย นายพฤทธิ์ บุปผาคำ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เนื่องจากผลดำเนินการขาดทุนของการบินไทยคาร์โก้ โดยให้เหตุผลว่า นายพฤทธิ์ กระทำการเกินอำนาจหน้าที่ตนเอง โดยการเซ็นสัญญาเช่าเครื่องบินเพื่อขนส่งสินค้า 2 ลำกับ Southern Air ต้องเป็นหน้าที่ของบอร์ดที่จะต้องมีการพิจารณาและอนุมัติก่อน นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุมาจากการกระทำที่ผิดนโยบาย คือ เดิมการบินไทยมีเป้าหมายจะให้เช่าพื้นที่คาร์โก้ แต่กลับไปเช่าเครื่องบิน<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1279280049&catid=05</ref> ท้ายที่สุดแล้วการบินไทยเช่าพื้นที่คาร์โก้ของเครื่องบินทั้งสองลำ และผลดำเนินการขาดทุนกว่า 100 ล้านบาทจนต้องรีบคืนเครื่องบิน 1 ลำ ก่อนครบสัญญาเช่า
 
== รางวัลที่ได้รับ ==