ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เธรนะดีเหยื่อฮิโรชิมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก้า พีรภัทร (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ความเศร้าโศกแด่ผู้ประสบภัยจากฮิโรชิม่า (อังกฤษ : threnody for the victims of hiro...
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
ความเศร้าโศกแด่ผู้ประสบภัยจากฮิโรชิม่า (อังกฤษ : threnody for the victims of hiroshima โปแลนด์ : Tren Ofiarom Hiroszimy) เป็นบทเพลงสำหรับกลุ่ม[[เครื่องสาย]]ทั้งหมด 52 ชิ้น ประพันธ์โดย [[กชึชตอฟ แปนแดแรตสกี]] เมื่อปี พ.ศ.2503 ซึ่งประพันธ์แด่ผู้ประสบภัยชาวฮิโรชิม่าที่ถูกสังหารและบาดเจ็บสาหัสจาก[[อาวุธนิวเคลียร์]] โดย[[เครื่องบิน บี-29]] ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{สั้นมาก}}
 
'''ความเศร้าโศกแด่ผู้ประสบภัยจากฮิโรชิม่า '''(อังกฤษ{{lang-en|Threnody : threnody forto the victimsVictims of hiroshima โปแลนด์ :Hiroshima}}; {{lang-pl|Tren Ofiarom Hiroszimy}}) เป็นบทเพลงสำหรับกลุ่ม[[เครื่องสาย]]ทั้งหมด 52 ชิ้น ประพันธ์โดย [[กชึชตอฟ แปนแดแรตสกี]] เมื่อปี พ.ศ.2503 ซึ่งประพันธ์แด่ผู้ประสบภัยชาวฮิโรชิม่าที่ถูกสังหารและบาดเจ็บสาหัสจาก[[อาวุธนิวเคลียร์]] โดย[[เครื่องบิน บี-29]] ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
ความยาวของบทเพลงนี้มีความยาวถึง 8 นาที 37 วินาที สำหรับเครื่องสายทั้งหมด 52 ชิ้น โดยมี[[ไวโอลิน]] 24 คัน [[วิโอลา]] 10 คัน [[เชลโล]] 10 ตัว [[ดับเบิ้ลเบส]] 8 ตัว ซึ่งมีเทคนิคคือ การชักไวโอลินบนหย่อง ใช้นิ้วตบ การสั่นไวโอลิน การดีดไวโอลิน (Pizzcato) โดยโน้ตที่เป็นสีดำขนาดใหญ่ จะเป็นเสียงกัด รูปแบบหนึ่งที่เป็นกลุ่มก้อนของเสียงขนาดใหญ่เรียกว่า Sound Mass