ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคเณศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 203:
 
=== อิทธิพลที่อาจมีส่วน ===
นักวิชาการ คอร์ทไรธ์ (Courtright) ได้ศึกษาทบทวนทฤษฎีจากการสังเกตต่าง ๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ยุคต้นของพระคเณศในยุคแรก ๆ รวมทั้งประเพณีชนเผ่าและได้ปฏิเสธประเด็นลัทธิบูชาสัตว์ที่อาจมาจากธรรมเนียมและความเชื่อเกี่ยวกับสัตว์ของชนเผ่าต่าง ๆกัน และปฏิเสธทฤษฎีทั้งหมดดังนี้:<ref>Courtright, pp. 10–11.</ref>
{{quote|ในการค้นหาต้นกำเนิดทางประวัติศาสตร์ของพระคเณศ มีบางส่วนได้คนเสนอจุดบางจุดเฉพาะที่อยู่นอกเหนือจากสถานที่ชี้ชัดนอกธรรมเนียมของพราหมณ์.... พื้นที่ที่ตั้งทางประวัติศาสตร์เหล่านี้น่าทึ่งสนใจมาก แต่ข้อเท็จจริงประการหนึ่งยังคงมีอยู่ที่ว่ามันทั้งหมดเป็นเพียงข้อคิดเห็นข้อสังเกต ข้อสันนิษฐานว่าด้วยรูปแบบหลากหลายที่พบในธรรมเนียมทราวิฑนั้นเป็นแบบต่าง ๆ ของสมมติฐานฑราวิท ซึ่งแย้งว่าอะไรก็ตามทุกสิ่งที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ว่ายืนยันอยู่ในแหล่งที่มาจากแหล่งทางพระเวทและทางหรืออินโด-ยูโรเปียนนั้นจะต้องได้เข้ามาในศาสนาพราหมณ์จากวัฒนธรรมประชากรทราวิฑหรือวัฒนธรรมพื้นเมืองดั้งเดิมของเผ่าพื้นเมืองกันทั้งหมด [อย่างไรก็ตาม]อินเดียโดยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่ผลิตศาสนาฮินดูจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรอารยันและมิใช่อารยัน ไม่เคยมีหลักฐานเดี่ยว ๆ ชัดเจนว่ามีอิสระสำหรับลัทธิบูชาช้างหรือรูปเครื่องรางช้างโทเท็ม เช่นเดียวกันว่าและไม่มีข้อมูลทางโบราณคดีที่บอกใด ๆ ชี้ว่ามีธรรมเนียมที่เก่าแก่ไปกว่าประเพณีก่อนหน้านี้เราเห็นแล้วในวรรณกรรมในปุราณะและรูปเคารพประติมานวิทยาพระคเณศที่พบ}}
 
หนังสือของฐาปน (Thapan) เกี่ยวกับพัฒนาการของพระคเณศได้ทุ่มเทหนึ่งบทเต็ม ๆ ในเล่มเพื่อพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นของวิวัฒนาการจากวัฒนธรรมเกี่ยวกับช้างในอินเดียโบราณ แต่ก็ได้สรุปไว้ว่า "ถึงแม้ว่าภายในศตวรรษที่สอง ยักษ์ที่มีเศียรเป็นช้างนั้นจะปรากฏขึ้นแล้ว แต่มันก็ไม่สามารถอนุมานได้ว่าจะเป็นรูปหนึ่งของพระคณปติ-วินายก ไม่มีหลักฐานชิ้นใดที่บอกว่ามีเทพเจ้าที่มีพระนามนี้และมีเศียรเป็นช้าง พบได้ในยุคที่เก่าแก่ขนาดนี้เลย ณ เวลานั้น พระคณปติ-วินายก ยังไม่ปรากฏขึ้น (made a debut) เลย"<ref>Thapan, p. 75.</ref>