ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไพฑูรย์ แก้วทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ลบไฟล์:Phaithoon K.jpgด้วยบอต เพราะถูกแจ้งลบ (อภิปราย)
บรรทัด 32:
 
== การทำงาน ==
นายไพฑูรย์ แก้วทองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตรสมัยแรกในนาม[[พรรคพลังใหม่]] เมื่อปี พ.ศ.2518 และได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต่อมาในสังกัดพรรคอื่นๆ อาทิ พ.ศ.2529-2531 สังกัด[[พรรคราษฎร]] พ.ศ.2535-2538 สังกัด[[พรรคความหวังใหม่]] และสังกัด[[พรรคประชาธิปัตย์]]ตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 ถึงปัจจุบัน รวมทั้งสิ้น 9 สมัย (แบบแบ่งเขต 5 สมัย ระบบบัญชีรายชื่อ 4 สมัย)
นายไพฑูรย์ แก้วทอง เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/A/132/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๕ ราย)]</ref> และรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงพาณิชย์]] ในรัฐบาลชวน 1<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/103/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๘ ราย)]</ref> ต่อมาได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/A/146/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]เล่ม 110 ตอนที่ 146 วันที่ 24 กันยายน 2536</ref> ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 ของไทย|ครม.คณะที่ 50]]) และเป็นรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม]] ในรัฐบาลชวน 2 ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ของไทย|ครม.คณะที่ 53]]) และมีบุตรชาย ที่เข้าสู่วงการเมืองคือ [[นราพัฒน์ แก้วทอง|นายนราพัฒน์ แก้วทอง]] ที่ลงสมัครได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.พิจิตร
 
นายไพฑูรย์ แก้วทอง เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/A/132/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๕ ราย)]</ref> และรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงพาณิชย์]] ในรัฐบาลชวน 1<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/A/103/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๘ ราย)]</ref> ต่อมาได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/A/146/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี]เล่ม 110 ตอนที่ 146 วันที่ 24 กันยายน 2536</ref> ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 ของไทย|ครม.คณะที่ 50]]) และเป็นรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม]] ในรัฐบาลชวน 2 ([[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ของไทย|ครม.คณะที่ 53]]) และมีบุตรชาย ที่เข้าสู่วงการเมืองคือ [[นราพัฒน์ แก้วทอง|นายนราพัฒน์ แก้วทอง]] ที่ลงสมัครได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส.พิจิตร
 
ในทางธุรกิจ นายไพฑูรย์เป็นเจ้าของธุรกิจรับเหมาหลายแห่ง เช่น บริษัทสระหลวงก่อสร้าง, บริษัทชาละวัน เทรดดิ้ง, บริษัท ก.นราพัฒน์ ถือเป็นหนึ่งในแหล่งเงินทุนของพรรคประชาธิปัตย์
 
ใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550]] นายไพฑูรย์รับผิดชอบดูแลพื้นที่โซน 2 (ภาคเหนือตอนล่างและภาคอีสานบางส่วน รวม 9 จังหวัด) และลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.สัดส่วน เขต 2 พรรคประชาธิปัตย์ ในลำดับที่ 1 โดยสามารถนำทีมชนะการเลือกตั้งรวม 3 คน คือ นายไพฑูรย์ แก้วทอง, นาย[[พุฒิพงศ์ สงวนวงศ์ชัย]] และแพทย์หญิง[[มาลินี สุขเวชชวรกิจ]] ต่อมาแพทย์หญิงมาลินี ขอลาออกจาก ส.ส.สัดส่วน ทำให้นายสัญชัย อินทรสูตร ขึ้นมาเป็น ส.ส. สัดส่วนแทน
 
ภายหลังการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรรคประชาธิปัตย์ที่เป็นฝ่ายค้านพรรคเดียวได้ประกาศจัดตั้ง [[รัฐบาลเงา]] หรือ [[รัฐบาลเงา|ครม.เงา]] ขึ้น ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 และ นายไพฑูรย์ แก้วทอง ที่เป็น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ได้รับเลือกจากที่ประชุมพรรค ให้ทำหน้าที่ '''[[รัฐบาลเงา|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานเงา]]'''