ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
}}
 
'''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม''' หรือ '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475''' ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 และได้รับการยกเลิกอย่าง “สันติ”"สันติ" เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เนื่องจากการประกาศและบังคับใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489|รัฐธรรมนูญฉบับใหม่]] รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 13 ปี 5 เดือน
 
มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 3 ครั้ง คือ
 
ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2482 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศจาก “สยาม”"สยาม" เป็น “ไทย”"ไทย" ตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีพลตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้ชื่อของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยนเป็น "[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]" ไปด้วย
 
ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2483 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล ซึ่งเสนอโดยขุนบุรัสการกิตติคดี (เหมือน บุรัสการ) ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนของรัฐบาล ซึ่งมีนายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี อันมีผลให้บทเฉพาะกาลซึ่งควรจะต้องสิ้นสุดในวันที่ 10 ธันวาคม 2485 เป็นอย่างช้า ยืดเวลาออกไปอีก 10 ปี
แก่นแท้ของการเสนอยึดบทเฉพาะกาลก็คือ การคงอยู่ต่อไปอีกของสมาชิกประเภทที่ 2 อันมาจากการแต่งตั้ง
 
ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2485 แก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามข้อเสนอของรัฐบาล ซึ่งมีจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ยังผลให้สามารถขยายเวลาอยู่ในตำแหน่งผู้แทนราษฎรออกไปอีกคราวละ 2 ปี
 
== อ้างอิง ==