ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระคเณศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 150:
* Martin-Dubost, pp. 41–82. Chapter 2, "Stories of Birth According to the {{IAST|Purāṇas}}".</ref> บางปุราณะระบุว่าพระปารวตีเป็นผู้สร้างพระคเณศ<ref>''Shiva Purana'' IV. 17.47–57. ''Matsya Purana'' 154.547.</ref> บางปุราณะระบุว่าพระศิวะและพระปารวตีเป็นผู้ร่วมกันสร้าง<ref>''{{IAST|Varāha}} Purana'' 23.18–59.</ref> บางปุราณะระบุว่าพระองค์ปรากฏตัวขึ้นมาอย่างลึกลับ แล้วพระศิวะกับพระปารวตีไปพบ<ref>จาก ''Brahmavaivarta Purana, Ganesha Khanda'', 10.8–37, อ้างถึงใน: Nagar, pp. 11–13.</ref> หรือว่าพระองค์ประสูติแก่เทวีที่มีเศียรเป็นช้างพระนามว่า มาลินี (Malini) หลังทรงดื่มน้ำสรงของพระปารวตีที่เทลงแม่น้ำเข้าไป<ref name="Melton2011">{{cite book|last=Melton|first=J. Gordon|title=Religious Celebrations: An Encyclopedia of Holidays, Festivals, Solemn Observances, and Spiritual Commemorations|url=https://books.google.com/books?id=KDU30Ae4S4cC&pg=PA325|date=13 September 2011|publisher=ABC-CLIO|isbn=978-1598842050|pages=325–}}</ref>
 
ครอบครัวของพระองค์ประกอบด้วยพระเชษฐาและอนุชา [[พระขันธกุมาร]] (การติเกยะ) เทพเจ้าแห่งการสงคราม<ref>Thapan, p. 300.</ref> ลำดับการประสูติของพระคเณศกับพระการติเกยะแตกต่างกันไปตามภูมิภาค ใน[[อินเดียเหนือ]]เชื่อกันทั่วไปว่าพระการติเกยะเป็นผู้พี่ แต่ใน[[อินเดียใต้]]กลับเชื่อว่าพระคเณศประสูติก่อน<ref>Khokar and Saraswati, p.4.</ref> ในอินเดียเหนือนั้น พระการติเกยะทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการรบองค์สำคัญในช่วงระหว่าง 500 ปีก่อนคริสต์กาลคริสตกาลถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 ที่ซึ่งการบูชาพระองค์ได้เริ่มเสื่อมลง ในขณะเดียวกันกลับเป็นพระคเณศที่ทรงได้รับความนิยมมากขึ้นแทน มีหลายเรื่องเล่าที่เล่าถึงความไม่ลงรอยกันระหว่างพี่น้องสองพระองค์<ref>Brown, pp. 4, 79.</ref> และอาจสะท้อนถึงความตึงเครียดระหว่างนิกาย<ref>Gupta, p. 38.</ref>
 
สำหรับสถานภาพสมรสพระคเณศซึ่งเป็นหัวข้อการทบทวนวิชาการอย่างแพร่หลายนั้นต่างกันไปตามนิยายปรัมปรา<ref name="lawrence_cohen">ดูการศึกษาเรื่องนี้เพิ่มเติมได้ที่: Cohen, Lawrence. "The Wives of {{IAST|Gaṇeśa}}". Brown, pp. 115–140</ref> เรื่องปรัมปราหนึ่งที่ไม่ค่อยรู้จักแพร่หลายระบุว่าพระคเณศได้ถือครอง[[พรหมจรรย์ (แนวคิดทางศาสนา)|พรหมจรรย์]]<ref>