ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมทแอมเฟตามีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้การสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
WATCH WA USA (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 71:
| melting_notes = (predicted)<ref name="Chemspider">{{cite encyclopedia | section-url=http://www.chemspider.com/Chemical-Structure.1169.html | work=Chemspider | title=Methmphetamine | accessdate=3 January 2013 | section=Properties: Predicted – EP{{pipe}}Suite }}</ref>
}}
'''เมแทมเฟตามีน''' (Methamphetamine) หรือชื่อในระบบ [[IUPAC]] คือ '''เอ็น-เมทิลแอมฟีตะมีน''' เป็น[[สารกระตุ้น]]หนัก[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] ส่วนมากถูกใช้เป็นสารเสพติดและถูกใช้บ้างในการรักษา[[โรคซนสมาธิสั้น]]และ[[โรคอ้วน]] เมแทมเฟตามีนถูกค้นพบโดยนักเคมีชาวญี่ปุ่น นาไง นางาโยชิ ไทย(長井 長義วัฒน์) ในปี ค.ศ. 1893 และมีอยู่สอง[[อีแนนซิโอเมอร์]] ประกอบด้วย: '''เดกซ์โตรเมแทมเฟตามีน''' (''dextromethamphetamine'') ซึ่งมีฤทธิ์รุนแรงกว่าและ '''เลโวเมแทมเฟตามีน''' (''levomethamphetamine'') อย่างไรก็ตามเมแทมเฟตามีนมีพิษต่อระบบประสาทของมนุษย์และสามารถถูกใช้เป็นสารเสพติดประเภทกระตุ้นความต้องการทางเพศและมัวเมา ขณะเดียวกันก็มียาชนิดอื่นที่ปลอดภัยกว่าและมีประสิทธิผลทัดเทียมกัน การสั่งจ่ายเมแทมเฟตามีนโดยแพทย์จึงพบได้ยากในปัจจุบัน
 
ปัจจุบัน การค้าและครอบครองทั้งเมแทมเฟตามีนและเดกซ์โตรเมแทมเฟตามีนเพื่อการเสพถือว่าผิดกฎหมาย การใช้เมแทมเฟตามีนอย่างผิดกฎหมายพบได้มากที่สุดในเอเชีย, โอเชียเนียและในสหรัฐอเมริกา ซึ่งในสหรัฐ ทั้งเมแทมเฟตามีน, เดกซ์โตรเมแทมเฟตามีน และเลโวเมแทมเฟตามีนถูกจัดอยู่ในบัญชีที่สอง ประเภทสารควบคุม โดยเลโวเมแทมเฟตามีนเป็น[[ยาจำหน่ายหน้าเคาน์เตอร์]]สำหรับใช้เป็นยาลดอาการคัดจมูกในสหรัฐ แต่โดยสากลแล้ว การผลิต จำหน่ายและครอบครองเมแทมเฟตามีนนั้นถูกควบคุมหรือต้องห้ามในประเทศส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นสารที่อยู่ในบัญชีที่สองของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสารที่มีผลต่อจิตใจ