ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์เหงียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ธงรัฐก่อนหน้า
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ลบไฟล์เสีย
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 64:
===กำเนิดราชวงศ์===
[[ไฟล์:Tdtu- gl tau quoc 1.jpg|left|thumb|200px|หนังสืออิงประวัติศาสตร์พงศาวดารเวียดนาม "ซา ล็อง เติ่ว โกว๊ก" ("Gia Long tẩu quốc") แสดงชีวประวัติของเหงียนฟุกอั๊ญ]]
[[ไฟล์:Emperor Gia Long.jpg|thumb|right|200 px|ภาพขององเชียงสือเหงียนฟุกอั๊ญ ขณะลี้ภัยอยู่ที่กรุง[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์|รัตนโกสินทร์]] (สยาม) โดยมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]<ref>http://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%91/%E0%B9%91%E0%B9%90-%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%8D%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A3</ref> สวมชุดขุนนางสยาม วาดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1783]]
หลังจากการสังหารหมู่ตระกูลเหงียนที่เมืองซาดิ่ญ เหงียนฟุกอั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh, 阮福暎) หรือที่ปรากฏในพงศาวดารของไทยว่า องเชียงสือ กลายเป็นสมาชิกตระกูลเหงียนที่อาวุโสที่สุดที่ยังคงเหลือรอดชีวิตอยู่ องเชียงสือสามารถเข้ายึดนครไซ่ง่อนคืนจากกบฎเตยเซินได้ในปี[[ค.ศ. 1778]] ปกครองเมืองไซ่ง่อนอยู่เป็นเวลาประมาณสามปี จึงถูกทัพเตยเซินขับออกจากเมืองไซ่ง่อนอีกครั้งในปี[[ค.ศ. 1781]] เหงียนฟุกอั๊ญจึงเดินทางมายัง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ในขณะที่พำนักอยู่ที่กรุงรัตนโกสินทร์นั้น เหงียนฟุกอั๊ญขอความช่วยเหลือจากบาทหลวง[[ปิโญ เดอ เบเอน]] (Pigneau de Béhaine) เหงียนฟุกอั๊ญเห็นว่าวิทยาการทางการทหารของชาวตะวันตกมีความจำเป็นในการกอบกู้ดินแดนเวียดนามคืนจากกบฎเตยเซิน ใน[[ค.ศ. 1785]] บาทหลวงปิโญ เดอ เบเอนพร้อมกับ[[เหงียน ฟุก กั๋ญ|เหงียนฟุกกั๊ญ]] (Nguyễn Phúc Cảnh, 阮福景) บุตรชายของเหงียนฟุกอั๊ญ เดินทางทางเรือไปยังเมือง[[พูดูเชอร์รี่|ปอนดิเชอรี]] (Pondicherry) เพื่อขอความช่วยเหลือจากทางการอาณานิคมฝรั่งเศส บาทหลวงปิโญ เดอ เบเอน และเหงียนฟุกกั๊ญออกเดินทางต่อไปยังนครแวร์ซายใน[[ค.ศ. 1787]] ราชสำนักฝรั่งเศสร่วมลงนามกับบาทหลวงปิโญ เดอ เบเอนในฐานะตัวแทนของเหงียนฟุกอั๊ญ ตกลงที่จะส่งกองทัพเรือและทหารเข้าช่วยเหงียนฟุกอั๊ญ เรียกว่า สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles)
 
เส้น 144 ⟶ 143:
! เหตุการณ์
|-
| [[ไฟล์:GiaLongEmperor Gia Long.jpg|120 px|]]
| 世祖 <br>Thế Tổ <br>([[สมเด็จพระจักรพรรดิซา ล็อง|ซา ล็อง]])|| '''開天弘道立紀垂統神文聖武俊德隆功至仁大孝高皇帝''' <br>Khai Thiên Hoằng Đạo Lập Kỷ Thùy Thống Thần Văn Thánh Vũ Tuấn Đức Long Công Chí Nhân Đại Hiếu Cao Hoàng Đế
| 阮福暎<br>Nguyễn Phúc Ánh<br> เหงียน ฟุก อั๊ญ