ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BenBoonnak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] [[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]]{{กล่องข้อมูล ไดเมียว
| name = สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์<br> (ดิศ บุนนาค)
| image = Wat 03.jpg
บรรทัด 75:
=== เลื่อนขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาฯ ===
[[ไฟล์:Lanchakon - 028.jpg|thumb|[[ตราสุริยมณฑล]]เทพบุตรชักรถ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานให้เป็นตราประจำสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ ต่อมาเป็นตราประจำ[[ประวัติกระทรวงการคลังไทย|กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]]]]
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อเดือนเมษายนพ.ศ. 2394 โปรดฯให้เรียกเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ว่า''เจ้าพระยาอัครมหาอุดม บรมวงศเสนาบดี'' ไปก่อน ต่อมาจึงมีพระราชโองการให้จารึกแผ่นสุพรรณบัฏเนื้อแปด แต่งตั้งเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) ขึ้นเป็นเป็น''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ วรุตมพงศนายก สยามดิลกโลกานุปาลนนารถ สกลราชวราณาจักราธิเบนทร ปรเมนทรมหาราชานุกูล สรรพกิจมูลมเหศวรเชษฐามาตยาธิบดี ศรีสรณรัตนธาดา อดุลยเดชานุภาพบพิตร''<ref name=":0" /> ที่ศักดินา 30,000 พระราชทานกลด เสลี่ยงงา พระแสงประดับพลอยลงยาราชาวดี เป็นเครื่องยศอย่างพระองค์เจ้าต่างกรม สำเร็จราชการทั้งสี่ทิศตลอดทั่วพระราชอาณาจักร ใช้[[ตราสุริยมณฑล]]เทพบุตรชักรถ รวมทั้งถือตราคชสีห์และตราบัวแก้วด้วยในเวลาเดียวกัน คนทั่วไปกล่าวขานนามสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ว่า [["สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่"]] ในขณะที่พระยาศรีพิพัฒนโกษา (ทัต บุนนาค) น้องชายของเจ้าพระยาพระคลังฯ ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็น[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ]] คนทั่วไปเรียกขานนามว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย"
 
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์มีบุตรชายทั้งสองช่วยราชการได้แก่ [[เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]] ที่สมุหพระกลาโหม ช่วยราชการในกรมกลาโหม (ต่อมาคือ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]]) และเจ้าพระยาผู้ช่วยราชการกรมท่า (ขำ บุนนาค) ช่วยราชการในกรมท่า (ต่อมาคือ [[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี]]) สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์เป็นหนึ่งในคณะผู้ปรึกษาฝ่ายสยามในการทำ[[สนธิสัญญาเบาว์ริง]] (Bowring Treaty) ในเดือนเมษายนพ.ศ. 2398
 
''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์''สัมพันธ์กับราชตระกูลสาย พระปฐมบรมราชวงศ์ ได้เเก่ ราชสกุล อิศรางกูร ต้นราชสกุลคือ[[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์|สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์]] เเละ ราชสกุล เทพหัสดิน ต้นราชสกุลคือ [[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์]] ทหารคู่พระองค์ของรัชกาลที่1 ทางลูกสะใภ้ ได้เเก่ท่านผู้หญิงกลิ่น ราชินิกูลสายบุนนาค สมรสกับ บุตรชาย คือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยวงศ์
 
[[ท่านผู้หญิงกลิ่น บุนนาค]] มีพี่น้องเเละวงศ์ญาติสายสกุลในสายราชินิกุล บุนนาค ที่สมรสกับ พระปฐมบรมราชวงศ์ ได้เเก่
 
#[[นางอุไร บุนนาค อิศรางกูร ณ อยุธยา]] สมรส กับ นาย เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา (บิดาของพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี เเละมารดาคือนางสุขใจ) นางอุไร (บุนนาค) อิศรางกูร ณ อยุธยา ก่อนหน้านี้สมรส กับ นายวีระ ชำนาญกิจ มีบุตรหลาน ได้เเก่ พ.ต.ท. กนุท (บุนนาค) ชำนาญกิจ นาย ยสฬิ์ศิวะ (บุนนาค) อิสรสิงหนาท
#[[นางกฤษนา อิศรางกูร ณ อยุธยา]]
# นางทิพย์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
#[[นายอนันต์ สุขะศิริวัฒน์]] หลานปู่ของนาย อิน สุขะศิริวัฒน์ ข้าราชบริพารใกล้ชิดถวายงานตำหมากเเละงานส่วนพระองค์ต่างๆในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
หนึ่งเดือนหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ได้ถึงแก่พิราลัยในวันที่ [[26 เมษายน]] [[พ.ศ. 2398]]<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สมมตอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ| ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร| ปี = 2545| ISBN = 974-417-534-6| จำนวนหน้า = 404| หน้า = 53-55}}</ref> ขณะอายุ 67 ปี ด้วยสาเหตุเป็นแผลที่หลังเท้าซ้ายจากการถูกเสี้ยนตำ เป็นพิษลามจนถึงแก่ชีวิต<ref>http://vajirayana.org/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C-%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-%E0%B9%94/%E0%B9%94%E0%B9%93-%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2</ref> พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้ทำเมรุจัตุรมุขขึ้นที่วัดประยูรวงศ์ ต่อมาเดือนตุลาคมพ.ศ. 2398 จึงเชิญโกศของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ลงเรือแห่ไปขึ้นที่หน้าวัดประยูรวงศ์ ทำการฉลองสามวันสามคืน และพระราชทานเพลิงที่เมรุที่วัดประยูรวงศ์ ตามความประสงค์ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ที่ให้ประกอบพิธีที่วัดประยูรวงศ์เพื่อพิราลัยแล้ว