ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฐม โพธิ์แก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
 
== ประวัติ ==
ปฐม ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี ครั้งแรกจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491]] และได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีไม่ประจำกระทรวง ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี (ครม.21) และเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2492/A/036/503.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๖ ราย)]</ref><ref>[https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the-historical-story/article_5058 พิธีเปิดสะพานเดชาติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๙๓]</ref> ในรัฐบาลต่อมา (ครม.22)<ref>http://www.soc.go.th/cab_22.htm</ref> ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2494 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/006/30.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (นายปฐม โพธิแแก้ว นายเขมชาติ บุณยรัตนพันธุ์ นายเลียง ไชยกาล หลวงอรรถพรพิศาล นายเสมอ กัณฑาธัญ)]</ref><ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2494/A/006/30.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (นายปฐม โพธิแแก้ว นายเขมชาติ บุณยรัตนพันธุ์ นายเลียง ไชยกาล หลวงอรรถพรพิศาล นายเสมอ กัณฑาธัญ)]</ref> แทน[[พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)]] จนกระทั่งคณะบริหารประเทศชั่วคราวนำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ยึดอำนาจการปกครอง และประกาศให้นำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 กลับมาใช้ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
 
ปฐม ได้รับเลือกตั้งอีกครั้งใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500]] สังกัด[[พรรคเสรีมนังคศิลา]] และ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500]]