ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขมวล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8006260 สร้างโดย Tong.4430 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''เลขมวล''' (mass number, '''A'''), หรือ '''เลขมวลอะตอม''' หรือ '''เลขนิวคลีออน''' เป็นผลรวมของจำนวน[[โปรตอน]]และ[[นิวตรอน]] (โปรตอนและนิวตรอมเรียกรวมกันว่า[[นิวคลีออน]]) ใน[[นิวเคลียสอะตอม]] เพราะโปรตอนและนิวตรอนต่างก็เป็น[[แบริออน]] เลขมวล A ก็คือ[[เลขแบริออน]] B ของนิวเคลียสของ[[อะตอม]]หรือ[[ไอออน]] เลขมวลจะต่างกันถ้าเป็น[[ไอโซโทป]]ที่ต่างกันของ[[ธาตุเคมี]] เลขมวลไม่เหมือนกับ[[เลขอะตอม]] ('''Z''') ที่แสดงถึงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสและสามารถใช้ระบุบธาตุได้ ดังนั้นค่าที่ต่างกันระหว่างเลขมวลและเลขอะตอมจะบ่งบอกถึงจำนวนนิวตรอน (''N'') ในนิวเคลียส: ''N=A−Z''<ref>{{cite web|url=http://education.jlab.org/qa/pen_number.html|title=How many protons, electrons and neutrons are in an atom of krypton, carbon, oxygen, neon, platnum, gold, etc...?|publisher=Thomas Jefferson National Accelerator Facility|accessdate=2008-08-27}}</ref>
 
เลขมวลจะถูกเขียนอยู่ด้ายด้านหลังหรือมุมบนด้านซ้ายของสัญลักษณ์ธาตุ เช่น ไอโซปโทปปกติของ[[คาร์บอน]]คือ [[คาร์บอน-12]] หรือ <sup>12</sup>C ซึ่งมี 6 โปรตรอนและ 6 นิวตรอน สัญลักษณ์ไอโซปแบบเต็มรูปแบบจะมีเลขอะตอม ('''''Z''''') ด้วยอยู่ด้านล่างซ้ายมือของสัญลักษณ์ธาตุ: <sub>6</sub>C<ref>{{cite web|url=http://www.fordhamprep.org/gcurran/sho/sho/lessons/lesson35.htm|title=Elemental Notation and Isotopes|publisher=Science Help Online|accessdate=2008-08-27}}</ref> ซึ่งวิธีนี้ไม่มีความจำเป็นนักจึงนิยมละเลขอะตอมไว้
 
ตัวอย่าง: การสลายในธรรมชาติของ[[คาร์บอน-14]]จะแผ่รังสีเบต้า ด้วยวิธีนิวตรอนหนึ่งตัวถูกทำให้เปลี่ยนสถานะกลายเป็นโปรตอนกับการปล่อยพลังงานของ[[อิเล็กตรอน]]และ[[อนุภาคต้าน ]] ดังนั้นเลขอะตอมจะเพิ่มขึ้น 1 (''Z'': 6→7) และเลขมวลมีค่าเท่าเดิม (''A'' = 14) ขณะที่เลขนิวตรอนลดลง 1 (''n'': 8→7) <ref>{{cite book
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เลขมวล"