ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมค์หมดหนี้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Thanakrit1121999 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลสถิติการครองแชมป์ไมค์หมดหนี้สูงสุด (รูปแบบกติกาที่ 2)
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 67:
 
==== รอบแจ็คพอต ====
ผู้เข้าแข่งขันที่ชนะฝ่ายตรงข้าม จะได้เป็นแชมป์ครั้งละ 1 สมัย และมีสิทธิ์เข้าไปร้องเพลง Featuring ร่วมกับ "นักร้องนำโชค" ประจำวัน โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องทำการแสดงโชว์ร้องเพลง 1 เพลง คู่กับนักร้องนำโชคในแต่ละวัน โดยจะมีคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน หากโชว์นี้ทำให้ผู้ชมและคณะกรรมการถูกใจ สามารถกดปุ่มให้คะแนนได้ โดยทุกๆ 20 คะแนน จะได้รับดาว 1 ดวง เมื่อจบการแสดงแล้ว จำนวนดาวที่สะสมมาได้ก็จะได้นำไปใช้เปิดแผ่นป้ายในรอบ "'''ต้นสอยดาว"''' อีกด้วย (สูงสุด 5 ดาว 5 แผ่นป้าย)
 
หลังจากจบการแสดงแล้ว ผู้เข้าแข่งขันจะต้องไปเปิดแผ่นป้ายตามจำนวนดาวที่สะสมมาในรอบ Featuring ที่ผ่านมา โดยทางรายการจะมีแผ่นป้ายรูปดาวจำนวน 6 แผ่นป้ายซึ่งมีหมายเลข 1-6 กำกับไว้ ด้านหลังแผ่นป้ายจะมีเงินรางวัลซ่อนอยู่ตั้งแต่ 1,000 ไปจนถึง 10,000 บาท (10,000 บาท 1 แผ่นป้าย, 1,000 บาท 1 แผ่นป้าย และ 2,000 บาท 4 แผ่นป้าย โดยทุกๆ 10 สมัย ป้าย 10,000 บาท จะเปลี่ยนเป็นป้าย 20,000 บาทในสมัยนั้นๆ) เปิดเจอเงินรางวัลเท่าไหร่ รับเงินรางวัลสะสมเพิ่มทันทีจากผู้สนับสนุนเงินรางวัล (ผู้สนับสนุนในการชิงโชคคือ เครื่องดื่มชูกำลัง M-150) โดยเงินรางวัลที่สะสมได้ในแต่ละวันจะถูกนำไปรวมกับเงินรางวัลสะสมที่มีอยู่เดิม สะสมเงินรางวัลเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าแชมป์จะพ่ายแพ้และตกรอบไป
 
ผู้ที่ครองสถิติเป็นแชมป์ยาวนานที่สุดในรูปแบบรายการนี้ คือ ปลาย ธเนศ ครองแชมป์สูงสุดถึง 46 สมัย สะสมเงินรางวัลสูงสุด 777,000 บาท ถูกโค่นแชมป์โดย อังกอร์ ทิพวรรณ (10 มีนาคม - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2563)
 
== รางวัลและการเข้าชิง ==