ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 81:
 
[[File:Vasaskultpurrepliker.jpg|thumb|left|แบบจำลองประติมากรรมบางส่วนของเรือในพิพิธภัณฑ์[[พิพิธภัณฑ์เรือวาซา]] ที่ได้รับการทาสีซึ่งเชื่อว่าเป็นสีดั้งเดิม]]
รูปสลักนั้นทำจากไม้[[โอ๊ก]], [[เกี๊ยะ]] หรือ[[ลินเดน (ต้นไม้)|ลินเดน]] และชิ้นส่วนขนาดใหญ่หลายชิ้น เช่น รูปหัวสิงโตขนาดใหญ่ยาว 3 เมตร (10&nbsp;ฟุต) ประกอบขึ้นจากไม้แกะสลักหลายชิ้นนำมาประกอบกันและยึดติดด้วยสลัก มีรูปสลักเกือบ 500 ชิ้นประดับในบริเวณท้ายเรือส่วนบน เฉลียง และบนจงอยหัวเรือ<ref>Soop (1986), pp. 20–21.</ref> รูปสลัก[[เฮอร์คิวลีส]]ปรากฏเป็นจี้ระย้าคู่หนึ่ง ที่ด้านหนึ่งมีอายุน้อยและด้านหนึ่งมีอายุมาก ในแต่ละด้านของเฉลียงท้ายเรือด้านล่าง จี้ระย้าที่แสดงถึงรูปลักษณ์ที่ตรงกันข้ามของฮีโร่สมัยโบราณได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยโบราณรวมถึงศิลปะยุโรปศตวรรษที่ 17 บนคานรับดาดฟ้าท้ายเรือเป็นภาพและสัญลักษณ์เกี่ยวกับความรักชาติและพระคัมภีร์ไบเบิ้ล บรรทัดฐานที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษคือสิงโตซึ่งสามารถพบได้ ในรูปแบบเครื่องตบแต่งแบบหน้ากาก (mascarons) บน[[ประตูปืน]] [[ตราอาร์ม]] รูปแกะสลักบนหัวเรือ และส่วนบนของหางเสือ แต่ละด้านของจงอยหัวเรือมี 20 รูปสลัก (แม้ว่าจะค้นพบเพียง 19 อันเท่านั้น) ซึ่งสักเป็นรูป[[จักรพรรดิโรมัน]]จาก[[จักรพรรดิติแบริอุส]]ไปถึง[[จักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส]] โดยรวมแล้วรูปวีรบุรุษทั้งหมดเป็นกษัตริย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยมีจุดประสงค์เพื่อเชิดชูพวกเขาในฐานะผู้ปกครองที่ฉลาดและทรงอำนาจ มีรูปแกะสลักกษัตริย์เพียงรูปเดียวที่ติดตั้งที่ส่วนบนสุดของคานรับดาดฟ้าท้ายเรือที่ท้ายเรือ มีรูปลักษณ์เป็นเด็กผู้ชาย ผมยาวสรวย ได้รับการสวมมงกุฎโดย[[กริฟฟอน]]สองตัว ซึ่งเป็นตัวแทนของพระชนก พระเจ้าชาร์ลที่ 9 แห่งสวีเดน<ref name="Soop18"/>{{efn|ก่อนขึ้นครองราชย์ พระเจ้าชาร์ลทรงเป็นดยุกแห่งโซเดอร์แมนแลนด์ (Södermanland) มีตราอาร์มเป็นกริฟฟอน[[ลักษณะการวางท่า|ยืนผงาด]] ซึ่งเป็นท่ายืนตรงหันข้างยกขาหน้า;<ref name="Soop18">Soop (1986), pp. 18–27.</ref>}}
 
[[Image:Vasa color pigments.jpg|thumb|เม็ดสีที่ใช้ในอู่ต่อเรือซึ่งถูกสร้างขึ้นใหม่ จัดแสดงที่[[พิพิธภัณฑ์เรือวาซา]]]]
<!--[[Image:Vasa color pigments.jpg|thumb|A recreation of the color pigments that were used by the naval shipyard where the ship was built; exhibit at the [[Vasa Museum]].]]
ทีมงานผู้เชี่ยวชาญงานแกะสลักอย่างน้อยหกคนทำงานเป็นเวลาอย่างน้อยสองปีในการแกะสลักงานประติมากรรมโดยมีเด็กฝึกงานและผู้ช่วยจำนวนหนึ่งให้การช่วยเหลือ ไม่มีการให้เครดิตบนรูปสลักใดๆ แต่มีรูปสลักหนึ่งสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าเป็นงานของศิลปินอาวุโสที่ชื่อมาร์เทิน เรทเมท (Mårten Redtmer) ส่วนศิลปินที่ประสบความสำเร็จคนอื่นๆ เช่น ฮาน เกลาซิงกะ (Hans Clausink), โยฮัน ไดแซน (Johan Tijsen) และมาร์คัส เลดัน (Marcus Ledens) เป็นที่รู้กันว่ามีการรับจ้างงานหลากหลายอยู่ที่อู่ต่อเรือในช่วงเวลาที่ ''วาซา'' ถูกสร้างขึ้น แต่รูปแบบงานของพวกเขานั้นไม่มีความแตกต่างกันมากพอที่จะเชื่อมโยงกับรูปสลักรูปใดโดยเฉพาะเจาะจงได้<ref>Soop (1986), pp. 241–253.</ref>
A team of at least six expert sculptors worked for a minimum of two years on the sculptures, most likely with the assistance of an unknown number of apprentices and assistants. No direct credit for any of the sculptures has been provided, but the distinct style of one of the most senior artists, Mårten Redtmer, is clearly identifiable. Other accomplished artists, like Hans Clausink, Johan Didrichson Tijsen (or ''Thessen'' in Swedish) and possibly Marcus Ledens, are known to have been employed for extensive work at the naval yards at the time ''Vasa'' was built, but their respective styles are not distinct enough to associate them directly with any specific sculptures.<ref>Soop (1986), pp. 241–253.</ref>
 
<!--The artistic quality of the sculptures varies considerably, and about four distinct styles can be identified. The only artist who has been positively associated with various sculptures is Mårten Redtmer, whose style has been described as "powerful, lively and naturalistic".<ref>Soop (1986), p. 247.</ref> He was responsible for a considerable number of the sculptures. These include some of the most important and prestigious pieces: the figurehead lion, the royal coat of arms, and the sculpture of the king at the top of the transom. Two of the other styles are described as "elegant ... a little stereotyped and manneristic", and of a "heavy, leisurely but nevertheless rich and lively style", respectively. The fourth and last style, deemed clearly inferior to the other three, is described as "stiff and ungainly"<ref>Quotes from Soop (1986), p. 252.</ref> and was done by other carvers, perhaps even apprentices, of lesser skill.<ref>Soop, pp. 241–253</ref>-->
 
== การเดินทางครั้งแรก ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วอซา"